การปฏิบัติธรรมพุทธวิธีมุ่งสู่พระนิพพาน Dhamma TIME เดือนธันวาคม พ.ศ.2559 หน้า 26
หน้าที่ 26 / 42

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับการเดินทางไปกุฏฐาเพื่อสืบค้นธรรมะและการเข้าร่วมพิธีบำเพ็ญกุศลที่กรุงพนมเปญ โดยมีสมเด็จพระสังฆราชและคณะสงฆ์ที่นำความรู้ต่างๆ มาร่วมกันศึกษาและแลกเปลี่ยน โดยเฉพาะการนำเสนอวิธีการปฏิบัติธรรมที่เน้นพระนิพพาน มาจากข้อมูลโบราณ เช่น 'ไตรภูมิพระร่วง' ซึ่งมีการเชื่อมโยงถึงวัดประตูตรธรรมและการศึกษาความรู้จากประเทศต่างๆ เช่น ศรีลังกา, เมียนมา และลานนา เพื่อรักษาอนุรักษ์ธรรมะและวรรณกรรมด้านพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-พุทธศาสนาวรรณกรรม
-การบำเพ็ญกุศล
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
-การศึกษาศาสตร์โบราณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ช่วงที่เดินทางไปกุฏฐา เพื่อสืบค้นหลักฐานจากธรรมในในคีมี่พรีพระธิวโรน ได้ไปราบสักการะสมเด็จพระสังฆราชเจ้าวัด ที่อุทิศโลม กรุงพนมเปญ ซึ่งนำที่ฝังเศษแห่งปลายบุรพัทธ์ได้รับความเมตตาให้เข้าอาศัยภายในวัดเป็นที่ทำการเพื่อเก็บรักษาอนุรักษ์ธรรมะมีรีบราณ สมเด็จพระสังฆราชและคณะสงฆ์มุ่งบำเพ็ญกุศลถวายเป็นพระราชกุศลแดสมเด็จพระโครม สีหนู ณ ลานหน้าพระราชวั่งหลวงและเมตตาให้ผู้เขียนนำคณะเข้าร่วมพิธีดังกล่าวด้วย ครั้งนี้เห็นชัดว่า ทุกท่านล้วนมีผลงานเป็นน้าศาลตารางยำรย์ ทอวิสรรถ เป็นวิชาการระดับแนวหน้าของโลกผู้เขียนและคณะจึงศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยอำมฤตร แห่งประเทศไม่มีความเห็นอื่นใด นอกจากตอบรับคำเชิญของศาสตราจารย์อูลิเรย์ สาราณตรัฐยูออร์เนี แม้เกษียณแล้วปัจจุบันท่านยังคงผลิตผลงานพุทธศาสนาทั้งด้านวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะของชาติไทยและลาวอย่างต่อเนื่อง ในที่ประชุมนี้น่านำเสนอ “การปฏิบัติธรรมพุทธวิธีมุ่งสู่พระนิพพาน” โดยข้อมูลจากสมภูมิภาคโบราณ “ไตรภูมิพระร่วง” และมีดร.แอนดรู สกิลิกตัน กับ ดร.พิบูลย์ มุจลัยศาศ นำเสนอผลงานการปฏิบัติธรรมแบบโบราณของไทย ซึ่งเป็นแบบอย่างของสมเด็จพระสังฆราช (ไตรภูมิ) วัดราชสิทธาราม และมียกส่วนที่เกี่ยวตอบ มาจากวัดประตูตรธรรม (วัดประตูโรงธรรม) สมัยอยุธยา ที่เป็นหลักคำให้เรื่องกฎบูรณแบบโบราณ รวมถึงการนำเสนอกรรมฐานแบบโบราณของศรีลังกา เมียนมา ลาว และลานนา เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More