ข้อความต้นฉบับในหน้า
พิมพ์นิยมโดยเนื้อหาที่กล่าวถึงการปฏิบัติสมาธิ (Meditation) ภาวนาเหล่านั้นสามารถเชื่อมโยงไปถึง "ธรรมกาย" Санเนที่สูงสุดได้เช่นกัน
เมื่อม่านเสนอประกอบเอกสารโบราณเสร็จสิ้นลง มีผลทำให้วิชาการที่มาร่วมประชุมต่างให้การยอมรับว่า "ธรรมกาย" นั้นมีจริง และต่างเสนอค้านเรื่องนี้ควรที่จะสืบค้นและศึกษาอย่างต่อเนื่องเพราะหลักฐานจากเอกสารโบราณที่นำเสนอที่ประชุมมัน โดยเฉพาะศิลาจารึกที่มีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๑ และผู้เขียนยังแจ้งให้ที่ประชุมทราบว่าทางสถาบันฯ (DIRI) ยังได้ทำการสำรวจแหล่งข้อมูลเพื่อสนิทสนมหลักฐานธรรมกายในเขตพุทธโบราณของประเทศไทยอื่น ๆ ด้วย เช่น ศรีลังการเวียดนามและกัมพูชา เป็นต้น และเพื่อสร้างความเชื่อถือให้มากและหนุนเนื่องนี้
จึงเชิญคุณสู่วิธีให้มาลาธิการสดจากพระธรรมกายตามที่ปรากฏอยู่ในคำภีร์มภายใน เพื่อให้กลุ่มนักวิชาการในที่ประชุมได้เห็นประจักษ์ด้วยตนเองและเห็นจริงว่า "ธรรมกาย" เป็นที่รู้จักในฐานะแบบบรรดามพุทธเถรวาท ในหลายแห่งตามผู้เขียนกล่าวไว้
จากการประชุมทางวิชาการร่วมกันในครั้งนี้ มีผลที่ชัดเจนออกเหนือจากการเปิดตัวสถาบันวิจัยนาชาติธรรมชัย (DIRI) ให้เป็นที่รู้จักในวงวิชาการด้านการอนุรักษ์ศิลปวัตถุโบราณเพิ่มมากขึ้น คือทำให้สถานะ (DIRI) มีโอกาสแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงลึกเรื่องหลักฐานธรรมกายในเอกสารโบราณร่วมกันนักวิชาการระดับตื่น เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งเป็นโอกาสเกิดขึ้นได้อย่าง
พอสรุปได้ว่า การที่สถานบันฯ DIRI ได้นำเสนอผลงานวิจัยต่อที่ประชุม 2 ชิ้น นั้นนับว่าเป็นการเริ่มวงรากฐานในวงวิชาการ เพื่อให้เกิดการยอมรับว่า "ธรรมกาย" นี้มีอยู่จริง และให้อธิบายว่ามี
ภาพศิลาจารึกพระธรรมกายวัดเสือ จังหวัดพิจิตร
ธรรมเนียมปฏิบัติที่มุ่งการบรรลุถึงธรรมกายและเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุด ซึ่งทางสถาบันฯ (DIRI) เชื่อว่าในปัจจุบันคงมีผลในระดับหนึ่ง แต่จะต้องตระหนักและถือเป็นพันธกิจสำคัญในการมุ่งมั่นเกาะติดแวดวงวิจิกานเพื่อทำความจริงให้ปรากฏแก่โลกสักไป
ข้อสังเกต
เมื่อผู้เขียนเดินทางกลับมาจากการสัมมนาทางวิชาการครั้งนี้แล้ว รู้สึกปลื้มใจที่ได้เห็นวารสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับนี้ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีบทความทางวิชาการเรื่อง "พระอจเอกล้า" กับ "พระธรรมกาย" ในจิตรกรรมวัดปทุมวนาราม ซึ่งมีเนื้อหาจ้องจงผลงานวิจัยของผู้เขียนเมื่อครั้งยังดำรงสมศักดิ์ที่ พระครูปลัดนายวัฒน์(สุธรรม สุขโม) จาก "คัมภีร์ธรรมมากมาย ฉบับเทพชมรม" และผลงานฉบับวิชาการที่เรียนเรียงโดย ดร.ชนิด จันทร์ศรีไศล นิค. จากหนังสือ หลักฐานธรรมกายในศิลาจารึกพุทธโบราณ