สู่การศึกษาคัมภีร์โลกศาสตร อิทธิพลและความสำคัญของ คัมภีร์โลกัปปทีปกสารที่มีต่อ คัมภีร์โลกศาสตร์บาลีในยุค หลัง: ศึกษาในกรณีของ คัมภีร์จักกวาฬทีปนีและคัมภีร์โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐี หน้า 4
หน้าที่ 4 / 26

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของคัมภีร์เช่น ไตรภูมิ พระร่วง และคัมภีร์โลกศาสตร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความเชื่อในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะกฎแห่งกรรม ถือว่าเป็นการรวมรวมความรู้ทางศาสนาและเป็นที่รู้จักในวงการวิชาการ ทั้งนี้คัมภีร์เหล่านี้แม้จะไม่แพร่หลายเท่าที่ควร แต่ก็มีคุณค่าในเชิงวิชาการในการศึกษาและค้นคว้า นักวิจัยยังได้ศึกษาคัมภีร์เหล่านี้เพื่อเข้าใจในหลักธรรมและวรรณกรรมของไทยที่มีคุณค่า

หัวข้อประเด็น

-บทนำ
-คัมภีร์ไตรภูมิ
-คุณค่าของคัมภีร์โลกศาสตร
-การศึกษาธรรม
-อิทธิพลของวรรณกรรมไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คัดลอกข้อความในภาพ: 1. บทนำ เมื่อกล่าวถึงคัมภีร์หรือวรรณกรรมที่บรรยายเกี่ยวกับพุทธิมน สรรค์และการเวียนว่ายตายเกิด คนไทยส่วนใหญ่มักนึกถึงวรรณกรรมไทยที่ชื่อ “ไตรภูมิ พระร่วง” หรือ “ไตรภูมิกา” เพราะเป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาในพระพุทธศาสนาไทยพระมหากษัตริย์ของไทยในสมัยสุโขทัย (ครองราชย์ พ.ศ. 1897 - พ.ศ. 1919) ที่ประพันธ์ด้วยภาษาไทยและมีอิทธิพลปลูกฝังความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรมให้คน ไทยมาช้านาน ซึ่งในปัจจุบันนี้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายไม่เพียงเฉพาะในกลุ่มคน ไทยแต่มิไปถึงนักวิชาการชาวต่างชาติอีกด้วย ซึ่งเป็นที่ทราบกันในบรรดาผู้ศึกษาว่า ไตรภูมิกนั้นเป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่ผู้จนได้รับรวมและเรียบเรียงวรรณกรรมบั้นนี้โดยอัชฌาแหล่งข้อมูลอ้างอิงจากคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อันได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ภูมิา และปกริวสิสต์ต่าง ๆ นั้นเอง แต่เมื่อกล่าวถึงปกิณกะหรือคัมภีร์วิชาหรือรวมเรื่องราวในท่านองเดียวกับไตรภูมิ การเรียกคัมภีร์เหล่านี้ว่า "คัมภีร์โลกศาสตร" คนไทยส่วนใหญ่อาจจะรู้สึกไม่คุ้นเท่าใดนัก ซึ่งก็เป็นเรื่องที่ไม่น่าแปลกใจ เพราะคัมภีร์เหล่านี้อยู่ในรูปแบบของภาษาโบราณและบางฉบับกิ่งมีการค้นคว้าวิจัยรวมทั้งมีการเปลี่ยนเป็นภาษาไทย และจัดพิมพ์เผยแพร่ในช่วงระยะ 30 - 40 ปี มานี้เอง และแม้ว่า คัมภีร์เหล่านี้จะไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายในหมู่คนไทย แต่เป็นที่รู้จักในดวงใจของนักวิชา การและผู้สนใจศาสนาพุทธศาสนา ซึ่งหลาย ๆ ฉบับได้รับการอ้างอิงก่อนไตรภูมิกาและอาจเรียกว่าเป็นต้นแบบของการประพันธ์ไตรภูมิกลายก็ได้ ด้วยเหตุนี้คัมภีร์โลกศาสตราบางฉบับจึงมีคุณค่าในเชิงวิชาธรรมเพื่อการปลูกฝังสัมมาทิฐิอีกทั้งคุณค่าในเชิงวิชาการเพื่อการศึกษาค้นคว้า จากการศึกษาในปัจจุบันพบ [1] ทราบได้จากงานแผนของคัมภีร์ (พจนสัก 2506: 11-12), และในภายหลังผู้ศึกษา วิจัยโดยละเอียด (เนียนอารี 2538: 11) นอกจากคัมภีร์โลกศาสตรันแล้ว คัมภีร์ที่อยู่ในรูปแบบของภาษาสแลงตุก คัมภีร์ที่ถูกแปลเป็นภาษาโบราณและภาษาในตกีย่อมปรากฎอยู่เช่นกัน อิทธิพลและความสำคัญของคัมภีร์ในฐานะสาร ที่เชื่อมต่อทั้งโลกศาสตรินั้นในปัจจุบัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More