ข้อความต้นฉบับในหน้า
โลกับปีทิปลสารอย่างชัดเจน เมื่อพิจารณาจากจุดรวบรวมทั้งจำนวนการอ้างอิงดังกล่าว แล้วในข้างต้น จึงเป็นสิ่งที่มาบอกได้ว่าคัมภีร์โลกปทิปลสารเป็นที่รู้จักในยุคก่อนหน้างานและมีอิทธิพลต่อการประพันธ์คัมภีร์จากภายนี้ไม่น้อยเลยทีเดียว
5. ความสำคัญของคัมภีร์โลกับคัมภีร์สารที่ต่อคัมภีร์โลก สัญฐานโชตรนตรคันฑ์
โลกสัญฐานโชตรนตรคันฑ์เป็นคัมภีร์โลคศาสตร์บักที่นักวิชาการสันนิษฐานกันว่าได้รับการประพันธ์ในยุคหลังที่สุด โดยสุภาภรรษ (2529: 484) ได้เน้นเอาเป็นคัมภีร์ที่จะได้รับการประพันธ์ในช่วงปี พ.ศ. 2063-2290 เพราะเนื้อความบางส่วนนำมาจากคัมภีร์จากวาทินนี้ (จนในปี พ.ศ. 2063) และจารึกใบานคัมภีร์โลกสัญฐานโชตรนตรคันฑ์ที่เก่าที่สุดเท่าที่ค้นพบในหลอสมสงชาติ จารในปี พ.ศ. 2290
เนื้อหาของคัมภีร์ฉบับนี้ แบ่งเป็น 5 ปริมาณ ได้แก่
ปริมาณที่ 1 กุปปูลจันทนัทเทส อธิบายเรื่องการตั้งของกับ
ปริมาณที่ 2 จุฬาภิสนุรคุณา อธิบายเรื่องเขาจารวาลและเขาลินร
ปริมาณที่ 3 ที่มีมุมบุตทบนี้ อธิบายเรื่องทิวและมื่นวัน
ปริมาณที่ 4 จนทสุโรเทนิ อธิบายเรื่องพระจันทร์และพระอาทิตย์
ปริมาณที่ 5 มนุษย์สาตตทติ ว่าด้วยคติตของมนุษย์และเทวดา เป็นต้น
แม่ชีทุติยา (2554: 180) ได้ทำการวิเคราะห์การอ้างที่ปรากฏในคัมภีร์นี้ ซึ่งมีการกล่าวอ้างถึงบมิประที่มและระบุว่าชัดเจน รวมกันทั้งสิ้น 58 แห่ง แต่เมื่อทำการเปรียบเทียบหัวข้อย่อยในแต่ละปริมาณกับเนื้อหาในปริมาณที่ 7 ของคัมภีร์โลกับปีปลาร ก็พบว่ามีความสอดคล้องในส่วนของการจัดเรียงเนื้อหาเป็นอย่างมาก ดังรายละเอียดตามเปรียบเทียบได้ด้านล่าง