ข้อความต้นฉบับในหน้า
28 - ระยะทางระหว่างพระพุทธแต่ละองค์ หน้า 206-207 (13 คาถา)
29 - เกี่ยวกับโยษิณี หน้า 207-208 (9 คาถา)
30 - หน่วยวัดเวลา หน้า 208 (2 คาถา)
หมายเหตุ: 1) เลขหน้าของโล่ปักทับ นำมาจากพระสังฆราชมังคล 2529.โล่ทับทาส. ค.นวา-อากาศก (พิเศษ) เย็น ประดิษฐ์ทอง, แปล. กรุงเทพฯ: สมประทานเคร
2) เลขหน้าของภาพที่บันทึ นำมาจากพระสิ่งคลาจารย์. 2523. จักรวาทนี้. นิตรก ทองเสตะ, แปล. กรุงเทพฯ: ชยานิเอเทสภัสนิคไทยการพิมพ์.
3) ในส่วนของแหล่งที่มาจากพระปริญญา และอรรถาธิบาย ผู้เชี่ยวชาญให้ความรับ PTS (Pali Text Society) และอักษรชื่ออักษรนี้เป็นตัวโรแมน
จากตารางด้านบน ทำให้ทราบว่าการอำนาจนี้มีโล่ปักทับในทุกๆส่วน ของคำภีร์จักรวาทนี้ ลักษณะการอ้างอิงนี้เป็นส่วนที่เป็นร้อยแก้วและส่วน ที่เป็นคาถา แต่โดยส่วนใหญ่เนคาดคาถาที่มีปรากฏในคัมภีร์โล่ปักทับสารามแสดง มีตั้งแต่ 1 คาถา ไปจนถึงสูงสุดคือ 19 คาถา และส่วนที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดคือ ปริมาณที่ 7 ของคัมภีร์โล่ปักทับ เพราะเป็นบริเวณที่พรรณนาถึงโอกาส ลกษณะหรือวาระโดยตรง นอกจากนี้ยังมีประเด็นที่น่าจะนำวิเคราะห์อีกคือ เนื้อความอ้างอิงจาก คัมภีร์โล่ปักทับสาระหลายแง่หลายมุมที่นำมาที่กว่าคัมภีร์โล่ปักทับสาราเสียอีก เหตุไดพระสิ่งคลาจารย์ผู้ทรงพระไตรปิฎกและแตกฉานในคัมภีร์ จึงไม่น้อยถึง คัมภีร์เหล่านั้นโดยตรงเลย เช่น ในอ้างอิงลำดับที่ 1, 3 - 9 , 13 ซึ่งมีแหล่งที่มาอยู่ใน คัมภีร์ชั้นล่างการภิกขา ทั้งที่ในคัมภีร์จักรวาทนี้เองก็มีการอ้างอิงดังกล่าวตั้งแต่คัมภีร์ชั้นล่าง การภิกขาถึง 24 แห่ง จึงมีความเป็นไปได้อย่างมากว่าพระสิ่งคลาจารย์จะไม่รู้ เนื้อความในคัมภีร์ชั้นล่างการ์ก็ดำเนินทั้งหมด นอกจากนี้ในอ้างอิงลำดับที่ 10, 11, 18 จะยังเห็นถึงการให้ความสำคัญกับโล่ปักทับในดัขึ้น โดยจะนำ คำถามอ้างอิงดังกล่าวมาวิเคราะห์ในลำดับต่อไป