การศึกษาอิทธิพลและความเชื่อมโยงของคำมีในภาษาสันสกฤต อิทธิพลและความสำคัญของ คัมภีร์โลกัปปทีปกสารที่มีต่อ คัมภีร์โลกศาสตร์บาลีในยุค หลัง: ศึกษาในกรณีของ คัมภีร์จักกวาฬทีปนีและคัมภีร์โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐี หน้า 26
หน้าที่ 26 / 26

สรุปเนื้อหา

บทความวิจัยนี้นำเสนอการศึกษาความเชื่อมโยงของคำมีในภาษาสันสกฤตที่ถูกแปลเป็นภาษาจีนและบาลี ซึ่งมีทั้งความเก่าแก่และความสำคัญทางประวัติศาสตร์ โดยมีตัวอย่างคำและพระสูตรที่ได้รับการแปลและรักษาไว้ รวมถึงการแสดงความลึกซึ้งในการเชื่อมโยงทางภาษา การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกที่เสนอที่ Toyo University ประเทศญี่ปุ่น และเคยตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Indian and Buddhist studies โดยบทความนี้มีการเพิ่มเนื้อหาและวิเคราะห์เพื่อให้เกิดบทสรุปที่ชัดเจนยิ่งขึ้น อิทธิพลของคำมีกลุ่มนี้มีบทบาทสำคัญในการศึกษาว่าเป็นส่วนหนึ่งของโลกศาสตร์ในยุคคลังอย่างไร

หัวข้อประเด็น

-คำมีในภาษาสันสกฤต
-การแปลภาษาจีนและบาลี
-การศึกษาโลกศาสตร์
-อิทธิพลของคำมี
-ประวัติศาสตร์ภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รูปแบบของภาษาสรรถกะ คำมีที่ถูกแปลเป็นภาษาจีนโบราณและภาษาบาลี ซึ่งบางคำมีความเก่าแก่กว่าคำมีในโลกศาสตร์บ้างหรือถึงปีเดียว การสืบค้นหาแหล่งที่มาและความเชื่อมโยงของแต่ละคำมีความจริงเป็นหัวข้อวิจัยที่มีความน่าสนใจอยู่ไม่น้อย รอคอยการค้นคว้าและการพิสูจน์ต่อไป ยกตัวอย่างเช่น 1. คำกรมีอิริยกรรมฝ่ายเหนือ ชื่อ Prajñaptīśāstra ในส่วนของ Lokaprajñapti ซึ่งหลงเหลือแต่คำมีแปลภาษาจีนบ้าง 2. คำกรมีอิริยกรรมฝ่ายเหนือ ชื่อ Abhidharmakosabhāṣya ในส่วนของ Lokalnirdeśa-kosa-sthāna ซึ่งมีคำมีรที่ได้ รับการแปลเป็นภาษาจีนและบิตด้วย นอกจากยังมีคำมีอธิษฐานชื่อ Sphuṭārtha Abhidharmakosavyākhyā อรรถาธิบายชื่อ Tattvārtha bhidharmkosa ซึ่งหลงเหลือแต่คำมีอิทธิฤทธิ์ที่ถูกแปลเป็นภาษาจีนและภาษาบาลี คำมีอธิษฐานชื่อ Abhidharmakosātika Laksanānusārīn และ Abhidharma kosā- vrttimarmadīpa ซึ่งหลงเหลือแต่คำมีอิทธิฤทธิ์ที่แปลเป็นภาษาจีนและภาษาบาลี 3. พระสูตรที่ถูกแปลเป็นภาษาจีนชื่อ Seikikyo "世紀經", Dairotankyo 「大槪炭經」, Kisekyo「起世經」, Kiseinhonkyo「起世本經」 ซึ่งนักวิชาการสนับสนุนวาแปลมาจากต้นฉบับเดียวกัน 4. คำมีรชื่อ Ryose-abhidonron 立世阿毘曇論 ซึ่งต้นฉบับเป็นภาษาสันสกฤตแต่สูญหายไป เหลือแต่คำแปลภาษาจีนและภาษาบาลีคือ โลกบญัญติ (ดูเชิงอรรถที่ 13) 5. คำมีรศัพท์สุดท้ายชื่อ Mahāsamvartanikathā เป็นต้น **บทความวิจัยนี้ เป็นส่วนหนึ่งของผลงานวิจัยในฐานะนักศึกษาทุนของ สถาบัน Toyo University The Inoue Enryo Memorial Center ประเทศญี่ปุ่น ประจำปี พ.ศ. 2553 และเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกที่เสนอชื่อ Toyo University ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2555 และส่วนหนึ่งของบทความวิจัยนี้ได้เคยตีพิมพ์เป็นภาษาญี่ปุ่นในวารสาร Journal of Indian and Buddhist studies เล่มที่ 59 (2), หน้า 899 - 902, ปี 2011 แต่ใน การตีพิมพ์เป็นภาษาไทยครั้งนี้เพิ่มเนื้อหา และวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่บทสรุปที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น อิทธิพลและความสำคัญของคำมีรกลุ่มนี้มีปฏิสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งที่เชื่อมโยงกันในด้านโลกศาสตร์ในยุคคลัง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More