อุสุชคนิทาน: ตำนานพระฤทธทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุรังคนิทาน ตำนานพระธาตุทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หน้า 15
หน้าที่ 15 / 19

สรุปเนื้อหา

อุสุชคนิทานมีจุดประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมความเคารพบูชาพระธาตุผาม โดยเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าเสด็จมาที่นี่ ซึ่งกลายเป็นสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ยังสะท้อนถึงการสร้างความศักดิ์สิทธิ์แบ่งแยกสถานที่ทางศาสนาในประเทศไทยและลาว ทำให้เกิดการเปรียบเทียบกับวรรณกรรมปวณณะในศาสนาพราหมณ์ และเชื่อมโยงกับอิทธิเยอราของสมัยราชวงศ์คุปต์ รวมถึงวรรณนึกทวารวดีที่มีอายุก่อนหน้า อุสุชคนิทานจึงมีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์และวรรณกรรมของภูมิภาคนี้.

หัวข้อประเด็น

-อุสุชคนิทาน
-พระธาตุผาม
-พระพุทธศาสนา
-วรรณกรรมไทย
-ประวัติศาสตร์ศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อุสุชคนิทาน: ตำนานพระฤทธทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 203 คือที่ตั้งพระธาตุผามในปัจจุบัน โดยพระธยี่ 5 พระองค์ได้แก่ พระยาสุวรรณภิณดา พระยาคำแดง พระยาคูณพิพฒนาตะ พระยาอินทปัถ และพระยานันทเสน พระมหากัสสะปะได้มอบเก้่องคาร์ที่เหลือจากการถวายพระเพลิงพระศพของพระบรมศาสดาให้แก่ศรีชาวเมืองหลาย นำไปบรรจุในสุงเจดีย์ที่พวกเขาสร้างขึ้นที่ต่อมาเรียกว่าพระธาตุนายดำ (Narayana)18 สรุป จุดประสงค์หลักของอุสุชนิทานก็เพื่อให้พระธาตุผมมีความน่าเคารพบูชืออย่างสูงจึง มีการแต่งนิทานขึ้นมาเล่าว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จมาที่นี่ด้วยพระองค์เอง ทำให้สถานที่นี้เป็นสถานที่คดีสิทธิ์ที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธองค์โดยตรง สิ่งที่ได้ตามมาพร้อมกับการเสด็จมาของพระพุทธเจ้าก็คือได้เกิดสถานที่คดีสิทธิ์สำคัญทางพระพุทธศาสนาขึ้นหลายแห่ง ดังนั้น อุสุชคนิทานจึงอับประโยชน์ในการสร้างความศักดิ์สิทธิ์ให้กับพระศาสนสถานที่อยู่ไม่ห่างจากฝังตะวันตกของแม่น้ำโขงในประเทศไทย และฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขงในประเทศลาว การสร้างวรรณกรรมรูปแบบนี้มีลักษณะคล้ายกับวรรณกรรมปวณณะในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งมีจิตวิญญาณในอิทธิเยอราตอนต้นสมัยราชวงศ์คุปต์ พระศาสนาสถานบ่งฝังแม่น้ำโขงที่กล่าวข้างต้น ที่มีอายุเก่าที่สุดอยู่ในวรรณนึก ทวารวดี (พระศตวรรษที่ 11-13) ดังนั้น อายุของอุสุชนิทานก็อายุไม่เกินสมัยทวารวดี และไม่น่าจะเก่าไปถึงสมัยของพระเจ้าทุรุกามเนืองอภัยแห่งศรีลังกา (พ.ศ.442-466) ตามที่อุสุชนิทานอ้าง เนื่องจากอุสุชนิทานมีเนื้อหาล้ายกับอุสุช-ถฤติที่แต่งขึ้นในสมัยของพระเจ้ายรงสาแห่งประเทศลาว (พ.ศ.2181-2233) จึงน่าจะ 18 สันนิษฐานว่าน่คือ พระธาตุนายเจง เจิง จังหวัดสกลนคร (ดู คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและหมายเหตุ 2542: 62-64)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More