การสร้างวิบากรรมและอธิษฐานแห่งความเพียร ข้อคิดจากพระมหาชนก ทางแก้วิกฤตสังคมไทย หน้า 26
หน้าที่ 26 / 48

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการสร้างวิบากรรมและอธิษฐานแห่งความเพียรตาม teachings ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยแบ่งเป็น ๓ ช่วง ได้แก่ อารัมภาฯ (การเริ่มต้น), นิกมธาตุ (การดำเนินการ), และ ปรัถกธาตุ (การก้าวหน้า) ซึ่งสนับสนุนให้ผู้อ่านกล้าที่จะคิด พูด และทำความดี พร้อมทั้งย้ำถึงความสำคัญของการไม่ปล่อยให้ไฟแห่งความเพียรดับลงดั่งผู้ที่ขาดความพยายามและความอดทน

หัวข้อประเด็น

-อารัมภาฯ
-นิกมธาตุ
-ปรัถกธาตุ
-ความเพียร
-การดำเนินการเพื่อความสำเร็จ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๖ ในการสร้างวิบากรรมหรืออธิษฐานแห่งความเพียรให้เกิดขึ้นในใจนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แบ่งช่วงเวลาที่กลั่นธาตุความสำเร็จขึ้นในใจกา่ ๓ ช่วง คือ ช่วงที่ ๑ เรียกว่า อารัมภาฯ หรืออธิษฐานเริ่มต้น คือ กล้าที่จะคิดถึงคุณงามความดีตั้งแต่ต้น กล้าที่จะพูดถึงความดีที่ตั้งใจจะทำ และกล้าที่จะลงมือทำความดีตามที่คิด ที่พูดเอาไว้ให้สำเร็จ ช่วงที่ ๒ เรียกว่า นิกมธาตุ หรืออธิษฐานกลาง คือ กำลังดำเนินการกลั่นธาตุแห่งความเพียร ธาตุแห่งความสำเร็จให้เกิดขึ้นในตัวเรื่อยไป ช่วงที่ ๓ เรียกว่าปรัถกธาตุ หรือธาตุแห่งความก้าวหน้า คือ ธาตุแห่งความเพียร หรือวิริยะบารมีนั้นเอง คนบางคนเป็นนักคิดนักฝัน กล้าคิด กล้าพูด กล้าทำ แต่เป็นความกล้าที่อูมเหมือนกับการจุดไฟฉเดิดไฟน้ําขึ้นเท่านั้น แต่ไม่ใส่เสื้อเพลิง ไม่ ใส่ไฟใส่ฟืนต่อไป ไฟก็อดดับ ต้มกับไม่สำเร็จ เพราะชอบแต่จุดไฟ แต่ใส่เสื้อไฟไม่เป็น อีกพวกหนึ่ง กล้าคิด กล้าพูด กล้าทำ เช่นกัน แต่เวลาใชเวลาทำนาน รอความสำเร็จไม่ไหว กลับไปนอนดีกว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More