การฝึกสมาธิและการทำให้ใจเป็นกลาง ข้อคิดจากพระมหาชนก ทางแก้วิกฤตสังคมไทย หน้า 42
หน้าที่ 42 / 48

สรุปเนื้อหา

การฝึกสมาธิอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้จิตใจเป็นกลางและป้องกันความอยากจนเกินไป โดยไม่ต้องเร่งรีบหรือบังคับตนเอง ทำให้สามารถเข้าถึง 'ดวงปฐมมรรค' ที่มีความใสและสวยงาม การระลึกรู้ในแต่ละขั้นตอนจะช่วยให้ชีวิตมีความสุขและความสำเร็จ และควรระวังไม่ให้ใช้กำลังในขณะฝึก เพื่อป้องกันการเคลื่อนไหวของจิตจากศูนย์กลาง กฎสำคัญคืออย่าใช้อำนาจหรือความตึงเครียดกับร่างกาย เพื่อให้จิตใจสามารถล่องลอยไปตามธารของการฝึกสมาธิได้

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-การพัฒนาจิตใจ
-ความสุขจากการทำสมาธิ
-ข้อควรระวังในการฝึกสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อแนะนำ คือ ควรทำให้สมมาตรเป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำได้แต่ไหนให้พอใจแค่นั้น ซึ่งจะเป็นการป้องกันมิให้เกิดความอยากจนเกินไป จนถึงกับทำให้ใจต้องสูญเสียดความเป็นกลาง และเมื่อการฝึกสมาธิงเกิดผลขึ้นได้ “ดวงปฐมมรรค” ที่ใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิทมั่นคงอยู่ที่ศูนย์กลางกาย แล้วให้มันตรึกระลึถึงอยู่เสมออย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจักทำให้ชีวิตดำรงอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความสำเร็จ และความไม่ปรารถนาได้ตลอดไป ทั้งยังจะทำให้สมาธิเฉลียวลื่นไหลตามลำดับอีกด้วย ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง คือไม่ใช้กำลังใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบกล้ามเนื้อดวงตาเพื่อให้เห็นมีมิติเฉลียว ไม่เกรงแขน ไม่เกรงกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกรงตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหนของร่างกายก็ถาม จะทำให้จิตเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไปสุดนั้น ๒. อยากให้เห็น คือทำใจให้เป็นกลาง ประคองสติมีให้ผลจากบริการภาวนาและบริการมนิฏ ด ส่วนจะเห็นมิติเข้าในนั้น อย่ากังวล ถึงเวลาล่องหลับเอง การบังเกิดของดวงนิทั้น อุปมาเสมือนการขึ้นและตก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More