การสร้างนิมิตแห่งความสงบสุข ข้อคิดจากพระมหาชนก ทางแก้วิกฤตสังคมไทย หน้า 40
หน้าที่ 40 / 48

สรุปเนื้อหา

การสร้างความรู้สึกสงบสุขผ่านการนึกนิมิตของดวงแก้วกลมใส ที่เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์และความสงบใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึกน้อมจิตใจให้พร้อมและทำตามขั้นตอนอย่างสม่ำเสมอ เช่น การวางอารมณ์สบาย และให้ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับนิมิตจนเกิดความสงบในใจ ทั้งนี้ ควรมีสติและความรู้สึกที่ดีต่อดวงนิมิต หากนิมิตหายไปก็ไม่ต้องกังวล ให้น้อมนิดปรากฏขึ้นใหม่ ช่วยให้ผู้ทำสมาธิเข้าถึงความสงบและสติได้ง่ายขึ้นในทุกขั้นตอน

หัวข้อประเด็น

-การสร้างนิมิต
-ดวงแก้วกลมใส
-การทำสมาธิ
-ความสงบสุข
-การน้อมจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๙ กล้ามเนือตาหรือขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมัน วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าไปสู่ ภาวะแห่งความสงบสุขอย่างยิ่ง 4. นึกกำหนดนิมิต เป็น "ดวงแก้วกลมใส" ขนาด เท่าแก้วตาดำใสบริสุทธิ์ ปราศจากรากศรีหรือรอยตำหนิใดๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจดังประกายของดวงดาว ดวงแก้ว กลมใสนี้เรียกว่า "บรรจรมิมิด" นักมายา นักเหมือน ดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่เจ็ด นึกไปวาวๆ ไปอย่างนิ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า "สัมมา อะระหัง" หรือค่อยๆ น้อมนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนไปสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มตั้งแต่ ฐานที่หนึ่งเป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไป พร้อมๆ กับคำบรรยา องค์ เมื่อมีนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลาง กาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับ ว่าดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนั้น อันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึกเสียใจ ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อมีนิมิตนั้นไป ปรากฏที่อื่น ที่มีใช้ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้า มาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อมีนิมิตมา หยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วงสติลงไปยังจุด ศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาว ดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่ง ซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More