ปกป้องพุทธสถานเมส ไซนัด วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2556 หน้า 44
หน้าที่ 44 / 116

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความจำเป็นในการปกป้องพุทธสถาน เมส ไซนัด โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่รัฐบาลอัฟกานิสถานไม่สามารถสนับสนุนการรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรมได้อย่างเพียงพอ การเคลื่อนไหวที่เริ่มต้นขึ้นมีการสนับสนุนจากชาวพุทธทั่วโลกเป็นอย่างดี โดยเฉพาะในการรวบรวมรายชื่อผู้สนับสนุนเพื่อปกป้องสถานที่สำคัญนี้ ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการรวบรวมรายชื่อหลายครั้งและมีการตอบรับจากลูกพระธัมฯ และพุทธศาสนิกชนอย่างมากมาย

หัวข้อประเด็น

-การปกป้องพุทธสถาน
-ความสำคัญของมรดกทางศิลปวัฒนธรรม
-การเคลื่อนไหวเพื่อรักษาพุทธสถาน
-การสนับสนุนโดยชาวพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปกป้องพุทธสถาน เมส ไซนัด เป็นหน้าที่ของชาวพุทธทุกคน แม้ว่าอัฟกานิสถานจะมี กฎหมายเกี่ยวกับการปกป้องมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม เช่นเดียวกันประเทศอื่น ๆ แต่ปัญหาด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทำให้รัฐบาลอัฟกานิสถานไม่อาจเลิก ลิ้มการสัมปทานเหมืองทองแดง ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของชาวพุทธทุกคนที่จะ ต้องร่วมกันปกป้องพุทธสถานแห่งนี้ ซึ่งการเคลื่อนไหวเพื่อปกป้องพุทธสถาน เมส ไซนัด เริ่มขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมตั้งแต่ เมื่อต สมาคมพิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบายเมื่อสมาพันธ์พิทักษ์ธรณีบูรณา สถานแห่งนี้ภายใต้นโยบาย เมื่อพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อชมพูโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และประธานมูลนิธิวิธิธรรมกายทราบข่าวท่านจึงให้การสนับสนุนการรวบรวมรายชื่อ ได้รับการตอบรับจากลูกพระธัมฯ และพุทธศาสนิกชนเป็นอย่างดี ซึ่ง ทำให้การรวบรวมรายชื่อครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ๕๐,๐๐๐ รายชื่อ ภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More