วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2556 หน้า 100
หน้าที่ 100 / 116

สรุปเนื้อหา

บทความนี้แนะนำวิธีการฝึกสมาธิที่สามารถปฏิบัติได้ง่าย โดยเริ่มตั้งแต่การเตรียมตัวด้วยการปฏิบัติธรรมอย่างเรียบง่าย รวมถึงการระลึกถึงคุณงามความดีที่ได้กระทำ และนั่งในท่าขัดสมาธิอย่างเหมาะสม เพื่อสร้างความรู้สึกพร้อมทั้งกายและใจ ก่อนที่จะนึกถึงดวงแก้วกลมใสในใจที่มุ่งสู่ความสงบสุข เช่นเดียวกับคำสอนจากพระมงคลเทพมุนี ณ วัดป่าน้ำภายเจริญ เพื่อให้ทุกคนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-คำสอนจากพระพุทธศาสนา
-การเตรียมตัวสำหรับฝึกสมาธิ
-การประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
-การสร้างภาพในจิตใจเพื่อฝึกสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิ เบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เติมใจด้วยสติสมปัญญา และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติที่พระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺสโล) หลวงปู่ วัดป่าน้ำ ภายเจริญ ได้เมตตาสอนไว้ดังนี้ 1. กรรมนูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้ชนวนใสเป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อย่ำความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง 2. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงคุณงามความดี ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบด้วยกายแห่งคุณงามความดีล้วน ๆ 3. นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทั้งข้าง มือขวาทับมือซ้าย นี่ซึ่งมีข้างขวาดดยนหัวแม้มือข้างซ้าย นั่งให้จงพอทีทำ พอเป็นร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกรง แต่ให้หลังโก่งหลังคอชะเง้อกลั้วกับการสักพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อตาหรือบวมคิ้ว แล้วตั้งใจมัน วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบสุขอย่างยิ่ง 4. นึกกำหนดนิมิตเป็น "ดวงแก้วกลมใส" ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใบจรรูปี คอรจารอยตำหนิใด ๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดั่งประกายของดาวดวงดารา ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมมณีติ นิยมเหมือนดวงแก้วนั้นมานั่งนิ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางกายานี้ นึกไป กวนไปอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า "สัมมา อะระหัง" หรือ (เป็นข้อความต่อเนื่องแต่ไม่สามารถแสดงภาพได้)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More