โรยไม้เรียว วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2556 หน้า 90
หน้าที่ 90 / 116

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวเกี่ยวกับการเรียนรู้จากประสบการณ์การถูกไม้เรียว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการสั่งสอนและความรักจากพ่อแม่และครู ในบทสนทนาระหว่างผู้เขียนและเพื่อนสนิท ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับการลงโทษ ที่มีทั้งความกลัวและความเข้าใจว่าความห่วงใยที่แฝงอยู่ในนั้น เสมือนเป็นบทเรียนสำคัญที่จะนำไปสู่การเติบโตและการพัฒนาในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-บทเรียนจากการถูกลงโทษ
-ความหมายของไม้เรียว
-การสอนจากหลวงพ่อและคุณยาย
-ความรักในรูปแบบต่าง ๆ
-การเติบโตผ่านความกลัว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

โรยไม้เรียว “ตั้งแต่เข้ามาเคยถูกไม้เรียวมีงบ้างไหม?” คำถามจากเพื่อนสนิทคนหนึ่ง ผมตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าผู้ตามไม่คุ้นเคยกันมาก่อน คงต้องคิดว่ามีดอมาก น่าจะต้องโดนไม้เรียวฟาดบ่อย ๆ หรือไม่ก็เห็นว่ามีเรียบร้อยมาก ชีวิตคงไม่น่าจะเคยสัมผัสเรียว แต่ในเมื่อคนถามคือเพื่อนสนิทกัน ผมจึงต้องคาดเดาว่าคงเป็นคำถามหยอกล้อ จึงตอบไปว่า เคยโดนดิครับ! “แล้วใครเป็นคนดี?” ’คิดว่าใครดีละครับ ถ้าไม่ใช่หลวงพ่อ” “หลวงพ่อดีจริง ๆ เลยหรือ?” “ครับ! สีหน้าเขาไม่ค่อยอยากจะเชื่อ” “ถูกดิบ่อยไหม?” “เป็นประจำ” “จริง ๆ หรือ” “ถ้าไม่เชื่อก็ลองดูสิครับ รอยไม้เรียว” ช่วงแรก ๆ ที่เข้ามาขอรับบุญและปฏิบจากหลวงพ่อ อะไรที่ไม่เคยทำก็ต้องเริ่มฝึกทำให้เป็นหลายอย่างที่ทำเป็นก็ต้องมาเป็นดั่งนี้ แต่มีบางที่ทำอะไรผิด หลวงพ่อเล่าให้ฟังถึงคำที่คุณยายบอกท่าน เวลาที่ใครเขาทำผิด อย่าไปดู อย่าไปพูด อย่าไปโกรธ แต่ให้ของเขา สอนเขาว่าถูกต้องนั้นเป็นอย่างไร สอนอย่างนี้เขาจะไม่โกรธเกลียดเรา ผมจะนึกถึงคำของคุณยายเสมอ เมื่อผมทำหน้าที่แล้วเกิดผิดพลาด โดยทั่วไปเมือทำอะไรผิดจะรู้สึกกลัวถูกลงโทษ สมัยยังเด็ก เวลาที่นกลัวที่สุดคือ ก่อนจะถูกก่นมะเป็นก้า ๆ ฟาดลงมาที่น่อง เช่นเดียวกันตอนที่ต้องลูกออกไปยืนหน้าเรียน โดยมีคุณครูยืนถือไม้เรียวอยู่! แม้ตอนนั้นจะเข้าใจก็รู้ว่านี่ “ไม่เรียว” คือสัญลักษณ์แทนของความรัก ความหวังดี ของพ่อแม่ ครู ผู้ปกครอง ที่แฝงมาในรูปของคำสอนคำตักเตือน แต่มันก็ยังเป็นสิ่งที่น่ากลัวอยู่ดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More