การเป็นพระแท้และการฝึกสมาธิ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2556 หน้า 63
หน้าที่ 63 / 120

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นพระแท้ที่ต้องผ่านการฝึกฝนเพื่อความสงบสุขในจิตใจ การปฏิบัติช่วยให้สามารถเข้าถึงจุดแห่งสมาธิที่แท้จริง และสัมผัสความโล่งว่างที่อยู่ในใจ ผ่านความเข้าใจในธรรมชาติของจิต การควบคุมอารมณ์และหลีกเลี่ยงความกดดันจากภายนอกเพื่อรักษาสมาธิให้คงอยู่ คือกุญแจสำคัญในการฝึกตนจนสามารถหลุดพ้นไปสู่สุขภาวะที่บริสุทธิ์และสงบสุขได้ ว่าแต่การปฏิบัติสมาธิไม่ควรใช้วิธีที่อ่อนแอเพียงเล็กน้อย ต้องมีความตั้งใจและจิตใจที่มั่นคงเพื่อเข้าใจในความเงียบและความโล่งว่างที่แท้จริงของจิต

หัวข้อประเด็น

-การเป็นพระแท้
-การฝึกสมาธิ
-อารมณ์และสมาธิ
-ความสงบในจิตใจ
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อาตมาสําเร็จเรียนรู้ว่าการเป็นพระแท้ต้องทำอย่างไรได้ฝึกตน ทนทิวบำเพ็ญตนูร้างบูญบุณคุณโทษนรกสวรรค์ ภูเขาอธิบายมากขึ้น จากผลการปฏิบัติธรรมของพระภิษุทั้ง 2 รูป เราจะพบว่าน้องอารมณ์ที่ทำให้เกิดสมาธิ คือ ห่วงอารมณ์ที่ใจหยุดนิ่ง สะเมิดสะไหม ละเอียดอ่อน เป็นกลาง ๆ ณ จุดแห่งสมาธิ เราจะพบกับความเงียบและความโล่งว่างอย่างแท้จริงที่มีอยู่ในจิตใจของเราเอง เป็นความโล่งว่างที่ดวงใจของเรามิถูกกระทบ คือ ไม่กัดอุ้มภายใต้ อิทธิพลใด ๆ ไม่มีความกดดันจากความปรารถนาใด ๆ เป็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นด้วยตัวของตัวเอง ไม่มีอิทธิพลของความรู้สึกกดดันด้าน ๆ มาเสมอ สงบ ความดีงามจะจบสิ้นลงอย่างสิ้นเชิง แต่การทำสมาธิจะล้มเหลวก็มีการใช้งานที่วะเป็นเพียงเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ลุ่นกิ๊ ๆ เริงนิด ๆ พยายามส่งจิตเข้ากลางให้ได้ อย่างนี้เป็นต้น แม้ที่เพียงแค่คืนก็จะค่อย ๆ หลุดหรือถอนออกจากความเป็นสมาธิไปเรื่อย ๆ เพราะสมาธิ คือละเอียดอ่อน คือละเอียดอ่อน คือ อ่อนโยน ละมุนละไม ปลอดโปร่ง โล่ง ว่างเบา สบาย ใจเจอ ๆ เป็นกลาง ๆ ไม่ได้คิดจากการปรุงแต่งสร้างสรรค์ของจิต แต่เกิดจากการเข้าไปสำรวจในจิตใจ คือ หยุดนิ่งเฉย ๆ ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 และจะถูกสิ่งที่มีอยู่แล้วในตัว ที่มีธรรมชาติละเอียด สะอาด ดิ่วดุใส่เข้าสู่กระบวนการแห่งการรับรู้ที่มีอยู่แล้ว พร้อมกันนี้เราก็จะสะอาดบริสุทธิ์หลุดพ้นเป็นบรมสุขอย่าง ๆ ขึ้นไป...
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More