ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น
สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เติมใจด้วยศีลสมาธิและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติที่พระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสิโล) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เมตตามาสอนไว้อย่างนี้
๑. การบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อย้ำความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง
๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงคุณงามความดีที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมดประกอบขึ้นด้วยฤทัยแห่งคุณงามความดีล้วน ๆ
๓. นั่งหลังตรง ขาขวาทับขาซ้าย มือวางทับมือซ้าย นิ่งชื่นมีข้างขาวารดน้ำหัวไหล่ มือข้างซ้าย นั่งให้เรียบร้อย ไม่มีแรงกายมากจนเกินไป ไม่ลงกิริรังแต่ให้หลังโกงตรง หลับตาพอสบายกลั้นลมหายใจเข้า-ออก อย่างกลั้นไว้ แล้วปล่อยใจวางอารมณ์ สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่ากำลังจะเข้าไปสู่อารมณ์แห่งความสงบอย่างยิ่ง
๔. นึกนึกดนตรีเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธิ์ ปราศจากรอยตำหนิใด ๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดับประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมมณีตรนิสูย นักเหมือนดวงแก้วนี้นั่งสมาธิณ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นิ่งไปนาน ๆ อย่างนิ่มนวล เป็นพุทธานุภาพว่า “สมา อะระหัง” หรือ
ค่อย ๆ นึกนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนไหวเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ ๗ เป็นนิตย์ไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กันตลอดเวลา นี่เมื่อนิจดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ไหววาวอารมณ์สบาย ๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่ามีมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนันต์อันตรธานหายไป ก็ไม่นึกเสียดาย ไหววาวอารมณ์สบาย แล้วนิมิตนันต์ขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนันต์นั้นไปปรากฏอื่น ที่มีอยู่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิมิตเข้าอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อนิมิตหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้าย this ดวงดาวดวงเล็ก ๆ อีกดวงหนึ่ง ชอบอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาไปได้แต่