ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อคิดรอบตัว
เรื่อง : พระครูปลัดสุวัจฉ์โมทิคุณ (สมชาย จานวุฒโต) จากรายการข้อคิดรอบตัว ออกอากาศทางช่อง DMC
ธรรมนัสเสียงเพลง
ทำไมเวลาฟังดนตรีซิ่งไม่ม่คำร้องใด ๆ
คนส่วนใหญ่ถึงมีอารมณ์ร่วม ?
ความคุ้นเคยกับจังหวะและเสียง
ดนตรีมีภาพขำขนาด ไม่เฉพาะชาตินี้
เท่านั้น บนวรรดีก็มีดนตรี ในทศแม่ไม้ดนตรี แต่จึงหวะเสียงร้องอยู่ เพราะฉะนั้น
คนเราจึงมีประสบการณ์ในอดีตที่ฝังลึกอยู่ ซึ่งกะแสละเอียดชัดในรู้
บนวรรดีก็มีดนตรีหลายแบบ ไม่ต้องมีเนื้อหาอะไรก็ได้ ฟังทำนองจินตนาการเป็น
เรื่องราวตามจังหวะการเปลี่ยนแปลงไป ถ้าเป็นจังหวะเสียงร้องในนรก ในบาปภูมิ์มืด ๆ
เช่น เปรต อสุภาย ก็มีเสียงแถวๆ กองาวา เสียงเปรตร้องก็เป็นอีกแบบหนึ่ง ถ้าถูกไปนรกไปไฟ
แผลเผา โดนหอก ก็ร้อนด้วยความเจ็บปวด
บาง ความโกรธบ้าง เป็นเสียงโหยหวนนึกแบบหนึ่ง ให้ความรู้สึกที่หวาดกลัว น่าตกใจ เคารสลด อย่างนี้เป็นต้น
บาง ความไกลบ้าง เป็นเสียงโหยหวลอีกแบบหนึ่ง นึกความรู้สึกแบบหนึ่ง ถ้าฟังเสียงที่มี ก็ให้
อารมณ์อีกแบบหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นคนชาติไหน ภาษาไหนก็คล้าย ๆ กัน เพราะว่าจรรยาคำ
นรกไม่ได้แบ่งแยกเชื้อชาติดี เป็นวรรดิเดียวกัน นรกเดียวกัน เมื่อใดได้ฟังเสียงที่เป็นจังหวะเหมาะสม นวนวลจะรู้สึกเบิกบาน ผ่อนคลาย
มีความสุขเหมือนกัน แต่ถ้าได้ฟังเสียงนั้นๆ ตาไป เสียงก็ร้อนร้าว เสียงโหยหวนน ก็จะเกิดอารมณ์เศร้าหมอง หรือเศร้าระทดรนใจ อย่างนี้เป็นต้น
7/4
อยู่ในบุญ สิงหาคม 2560