พื้นฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ 27)  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2560 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 106

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้กล่าวถึงการสืบสานมรดกแห่งหลักฐานธรรมกายที่มีความสำคัญ โดยเน้นถึงความก้าวหน้าในการจัดหาอาคารเพื่อพัฒนาสถาบัน DIRI ในวาระ ๑๐๐ ปีของพระมงคลเทพมุนีและการเป็นต้นแบบของนักวิจัยทางพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและค้นพบวิชชาธรรมกาย

หัวข้อประเด็น

-มรดกทางธรรมกาย
-สถาบันวิทยานานาชาติธรรมชัย
-ความสำคัญของการศึกษาในพระพุทธศาสนา
-พระมงคลเทพมุนี
-การพัฒนาศูนย์วิจัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พื้นฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ 27) เมื่อ ๑๐๐ ปีล่วงมาแล้ว นั่นคือมรดกแห่งหลักฐานธรรมกายที่จะต้องทำสืบสานต่อไปให้ดีที่สุดในวันที่ ๑๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๓ นี้เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปรวมทั้งเป็นวันคล้ายวันเกิดครบองค์ ๑๓๓ ปีของท่าน ซึ่งเราทราบกันเป็นอย่างดีว่า พระเดช- ในฉบับที่แล้ว ผู้เขียนและคณะนักวิจัย สถาบันวิทยานานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้กล่าวถึงการให้ความสำคัญกับการดำเนินงานตามพันธกิจ ๓ ขั้นตอนของสถาบันฯ คือ เรื่องความคืนหน้า ของการจัดหาอาคารเพื่อสถาบันฯ ซึ่งมีความคับหน้าไปมากแล้ว ถือเป็นเรื่องที่น่ายินดี เพราะการพัฒนาอาคารสถาบันฯ ยัง ยังคงเท่าเป็นการสืบสานงานการค้นพบวิชชาอารยาขอพระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสุโร) ในวาระโอกาสบุญฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปีด้วย กับอีกเรื่องหนึ่ง คือ ในเรื่องความเป็น “ต้นแบบของนักวิจัยทางพระพุทธศาสนา” อย่างแท้จริงที่ท่านได้ดำเนินตามรอยบาทของพระบรม- ศาสดาอย่างสมบูรณ์ ปฏิบัติของพระเดช-พระคุณหลวงปู่ ที่มีความตั้งใจในการศึกษาทั้งด้านปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ จนทำให้ท่านได้ค้นพบวิชชาธรรมกายได้ในวันที่๕๖ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ หรือ สำหรับสถาบันฯ DIRI ทีมงานกุศลทุกคนก็ได้มุ่งมั่นปฏิบัติการอย่างทุ่มเทชีวิตมาตลอดต่อเนื่อง จนถึง ณ เวลานี้ ไม่ว่าจะเป็นความคืนหน้าของการสถาบันฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More