การจารึกพระไตรปิฎกในประวัติศาสตร์  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2560 หน้า 63
หน้าที่ 63 / 106

สรุปเนื้อหา

ประมาณ พ.ศ. 180 เศษ พระเจ้ามหาวภูวาคามินีอภัยได้ทำการจารึกพระไตรปิฎกและอรรถกถาลงในใบลานเพื่อรักษาพระธรรมวินัยในช่วงที่ศาสนากำลังเสื่อมโทรม พระองค์ทรงเห็นว่าการท่องจำตามแบบเดิมไม่เพียงพอ จึงให้มีการจารึกเพื่อให้ความรู้ยังคงอยู่ให้กับคนรุ่นต่อไป การจารึกใบลานนี้เป็นวิธีการใหม่ที่ถูกนำไปใช้ในหลายประเทศที่นับถือพุทธศาสนา ซึ่งเป็นการป้องกันการสูญเสียพระธรรมไปจากการที่ปัญญาของคนรุ่นใหม่เริ่มเสื่อมลง และจนถึงปัจจุบันรูปแบบนี้ยังคงได้รับการปฏิบัติต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปี

หัวข้อประเด็น

-การจารึกพระไตรปิฎก
-ความสำคัญของพระธรรม
-พุทธประวัติ
-การรักษาพระธรรมวินัย
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐ เศษ วัณมัย เป็นครั้งแรก เพื่อรักษาพระธรรมวินัยให้อยู่ยาวของพระเจ้ามหาวภูวาคามินีอภัย ขณะยังมิให้เข้ายอดเมืองอนุราชูปะ ประชาชนประสบภาวะทพภิภัหย่อยหนัก เจดีย์ถูกรุกปล่อยปล่อให้ร้าง พระภิภัขสูงมุ่งจำนวนมากพอยชนีไปยังประเทศิเดี๋ย พระองค์จึงเสด็จลุธิไปช่องสม้กำลังเพื่อบินรีลิืกักกลับคืนมาจากกษัตริย์มิน โดยได้รับการอุปถัมภ์จากพระมหากษัล เมื่อทรงยึดพระราชอาณาจักรคืนมาได้สำเร็จ ทรงตราหน้าว่าหากปล่อยให้พระธรรมคำสอนสูญเสียทดด้วยวิธีท่องจำแนบปากเปล่าๆตามแบบเดิมที่จะทำกันมานานเกรงว่าจะทำให้พระธรรมมิตยเกิดเพียงและไม่สมบูรณ์ จึงโปรดกล้า ให้กระทำสกายา ขึ้น ณ อาโลกเสลาาน มณฑลบกนบา โดยมีพระรักติ_{มาหเถระเป็นประธาน และโปรดเกล้ฯ ให้จารึกพระไตรปิฎกและอรรถากถาเป็นลายลักษณ์อักษรลงในใบลาน "...เมื่อก่อนพระภิภัฑ์หลายได้นำพระไตรปิฎกสีและอรรถากถาด้วยมูบปู่ แต่ยามหลังได้เห็นความเสื่อมไปแห่งปัญญาของกุลบุตรทั้งหลาย จึงได้จดจารพระปฎกิ อรรถกถาภว่ในใบลาน เพื่อความตั้งอยู่ในแห่งพระธรรม..." นับจากนั้นการสืบทอดพุทธธรรมด้วยการจารจาริกลงในคัมภีร์ใบลาน ก็เป็นรูปแบบใหม่ที่ประเทศต่างๆ ที่นั่นอ พุทธศาสนานำไปปฏิบัติ แม้ว่าคัมภีร์ฉบับแรกที่มีราคาครึ่งใน อโลกเสลา แสนจะผู้ผูมิให้ลองบันจรงให้เห็น แต่คัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานที่จารทดแทนบัดเดิมจากรุ่นสู่รุ่นก็เป็นหลักฐานปฐมภูมิที่ยืนยืน ให้เห็นถึงธรรมเนียมปฏิบัติที่ทำมาต่อเนื่องหลายพันปีตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๐ เศษ ตุลาคม ๒๕๖๐ อยู่ในบุญ ๑๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More