แนวคิดการเวียนว่ายตายเกิดในยุคอินเดียโบราณ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2561 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 60

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงแนวคิดการเวียนว่ายตายเกิดในยุคอินเดียโบราณ ซึ่งแนวทางนี้เริ่มให้เห็นชัดเจนตั้งแต่ปลายยุคพราหมณ จนถึงต้นอุุบิบห์ กล่าวถึงวงจรชีวิตหลังความตาย โดยเฉพาะการที่ดวงวิญญาณไปอยู่พระจันทร์และกลับมาผ่านน้ำฝนสู่พื้นดิน และการเกิดใหม่ในร่างมนุษย์. อย่างไรก็ดี แนวคิดนี้ยังคงทิ้งคำถามเกี่ยวกับเป้าหมายสูงสุดและวิธีการหลุดพ้นที่ยังคงต้องการค้นหา.

หัวข้อประเด็น

-การเวียนว่ายตายเกิด
-แนวคิดสังสาระ
-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-การหลุดพ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อัปยษ์ อ่านอัดิ ติ คิดอนาคต เรื่อง : พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย, ดร. ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ 7 : แนวคิดเรื่องการเวียนว่ายตายเกิดและการหลุดพ้นในยุคอินเดียโบราณ คนเราเมื่อตายแล้ว...ไปอยู่พระจันทร์ ?? แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซึ่งต่อมาได้ใช้ศัพท์เฉพาะว่า “สังสาระ” (samsāra) นั้น มีทิ้งร่องรอยไว้ในยุคพระเวทบาง แต่เริ่มมาปรากฏให้เห็นชัดเจนในช่วงปลายยุคพราหมณ ถึงช่วงต้นยุคอุุบิบห์ ในที่นี้ได้มีการกล่าวถึงว่า เมื่อมนุษย์เราลับตาลโลกนี้ไป ดวงวิญญาณจะไปบังเกิดที่ “พระจันทร์” จากนั้น ดวงวิญญาณจะตกม้ายังโลกมนุษย์อีกครั้ง พร้อมกับ “น้ำฝน” และซึมลงไปใน “พื้นดิน” แล้ว “ญาณพิช” ทั้งหลายก็ดูดซึมดวงวิญญาณนั้นเข้าไป และเมื่อ “บุรษ” กินญาณพิชนั้นเข้าไป ดวงวิญญาณก็จะไปออในกายของบุรษ ต่อเมื่อมีการอยู่ร่วมกันกับ “สตรี” ดวงวิญญาณนั้นก็จะเข้าไปสู่ครรภ์ของสตรี นับเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตใหม่ จากแนวคิดเรื่องการเขียนว่าวายตายตีกกล่าวลำนี้ แม้จะตอบโจทย์ในเรื่อง “ตายแล้วไปไหน” ก็ตาม แต่มีคำถามเกี่ยวกับ “เป้าหมายสูงสุดและวิธีการหลุดพ้น” ค้างคาใจให้ผู้อ่านในยุคนั้นแสวงหาคำตอบกันต่อไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More