ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุปลาย
บทความพิเศษ
เรื่อง : นวธรรมและคณะนักวิจัย DIRI
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๙)
บทมัสการพระธรรมกายในพับษา : กุญแจดอกสำคัญของการสร้างพระพุทธรูปที่มุ่งสู่ภายใน
ก่อนอื่นผู้เขียนขอนำบทนามบูญกับท่านผู้นำบุญทุก ๆ ท่านที่ได้ร่วมบุญใหญ่ในการเป็นส่วนหนึ่งในการสถาปนาจุฬาพระไตรปิฎกของวัดพระธรรมกายไว้นับอาทิตย์ที่ ๗ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ (วันที่ ๗ เดือน ๗) อันถือว่าเป็นอุบาสกพระไตรปิฎกแห่งแรกของโลกที่ได้ตามเรื่องราวของธรรมกายที่ปารากฎในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถวกขึ้นมาสร้างไว้เป็นอุบาสกให้พระศาสนิกชนทั้งปัจจุบันและอนาคตได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทใหญ่ซึ่งมีอยู่หนึ่งแห่งที่เราชาวพุทธควรสืบมิติติวใจร่วมกัน สำหรับในเดือนนี้ ต้องถือว่าเป็นเดือนที่สำคัญอีกเดือนหนึ่งของพวกเราซึ่งเป็นลูกศิษย์หลายศิษย์แห่งวิชชาธรรมกาย เนื่องจากวันที่ ๒๗ สิงหาคมของทุกปีนี้ เป็นวันคล้ายวันอันรำลึกถึงการเข้าสู่ยุคผ้ากาสาวพัสตร์ขององค์พระผู้สำเร็จธรรมราชซึ่งบ่งบอกเป็นนิมิตหมายที่ยิ่งที่ในเดือนอันเป็นมงคลนี้ ทางคณะทำงานของสถาบันฯ ก็ได้พบ "หลักฐานธรรมกาย" อีกหนึ่งชิ้น ซึ่งมีความสำคัญและสามารถเชื่อมโยงไปสู่ประวัติศาสตร์และวิถีวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญได้หลาย ๆ มิติ รวมถึงเรื่องของการปฏิบัติด้วย ซึ่งจะต้องมีกำลังวิจัยกันอย่างละเอียดลึกซึ้งต่อไป จากในบันทึกแล้ว ผู้เขียนได้กล่าวให้ท้ายไว้ถึงเรื่องคำอธิบายความอันน่าสนใจจากเอกสารงานวิจัยเรื่อง "ข้อสังเกตบางประกาศเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องพุทธในเอกสารลำนา" ของอาจารย์บำเพ็ญ ระวิน ซึ่งได้กล่าวถึงความสำคัญของพระรัตนตรัยไว้อย่างละเอียด มีการตีความถึงที่มาและสาระสำคัญของพระรัตนตรัยตามที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกออกมาให้เราเห็น ทั้งยังมีการอธิบายเรื่อง "พุทธวด้า" ที่อยู่ในคัมภีร์เดิมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าศิษฐุจซใน เพื่อยืนยันถึงการมีอยู่จริงของพระองค์ท่านไว้อย่างชัดเจน ซึ่งในจุดนี้เอง ผู้วิจัย (คือท่านอาจารย์บำเพ็ญ ระวิน) ก็ได้ให้เราเห็นถึงคุณค่าและความสัมพันธ์ระหว่าง "เวลาของการดำรงความเป็นพุทธะ" กับความยั่งยืนของ "ธรรมกาย" หรือพุทธภาวะอันนิรันดร์ว่าเป็นสิ่งที่สอดคล้องอยู่ในวรรณคดีทางพระพุทธศาสนามากมาย โดยเฉพาะในวรรณกรรมล้านนานี้ก็อุบลปรากฏให้เห็น