ข้อความต้นฉบับในหน้า
โดยทั่วไป การศึกษาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในผืนแผ่นดินล้านนานั้นเป็นหนทางหนึ่งที่จะทำให้เราได้พบองค์ความรู้และความจริงอันลึกซึ้งเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและพระรัตนตรัยได้อีกมากมายไม่รู้ง
ในเวลาลายปีที่คณะทำงานของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ศึกษาวิจัยเรารวบหลักฐานธรรมภายในพื้นที่กท่านอำนาจ คณะทำงานก็ได้มีโอกาสพบกับบรรดาภาวะปัญญา รวมทั้งนักปราชญ์ท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนาหลายแขนง รวมทั้งครูภาวะปัญญาที่มีความรู้ในด้านจารึก หรือภาวะธรรมล้านนาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจากข้อมูลที่คณะทำงานของเราได้รับ ทำให้ได้ทราบว่าท่านอาจารย์สิงห์สมัย นั้นก็เป็นครูผู้ปัญญาด้านภัณฑอัตถะเมืองและภาวะธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ท่านหนึ่งที่เราควรให้ความเคารพและศึกษาเรื่องราวของท่านให้ละเอียดลออไป
ท่านอาจารย์สิงห์สมัย รวรรณสัย นั้น ถือว่าเป็นบุคคลสำคัญท่านหนึ่งในแนวทางการศึกษาวรรณกรรมล้านนาที่มีความเอาใจใส่ต่อการศึกษา ค้นคว้า และอนุรักษ์วรรณกรรมล้านนาอย่างยาวนาน ท่านเริ่มต้นเส้นทางสายนี้ด้วยการศึกษาพระอัษริในระหว่างบวชเป็นสามเณรโดยไปศึกษาที่วัดพระธาตุเหรียงในขณะสอบได้เปรียญธรรมตั้งแต่ปฺระโยค ๑๔ ตามลำดับก่อนที่จะเข้ามาศึกษาต่อที่จุฬาลงกรณ์ในขณะเดียวกันก็ศึกษาคำสำคัญเพิ่มเติมเพื่อสอบเปรียญธรรมประโยค ๕ นั้น ท่านอาจารย์สิงห์ก็ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ของท่านให้เป็นผู้สอนสามเณรยุคหลัง ๆ ให้เข้าสอบเปรียญธรรมประโยคต้น ๆ เรื่อยมาจนกระทั่งท่านได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ก็ยังคงสอนอยู่เป็นเวลายี่สิบปี
ด้วยอุปนิสัยของการเป็นผู้ให้ผู้ฝึกฝนของท่านอาจารย์สิงห์เองที่ติดต่อท่านมาตั้งแต่เยาว์ แม้เมื่อท่านได้สิกขาออกมาเพื่อดูแลมาตราดในช่วงเวลาต่อมา แต่ท่านยังมีความวิริยะอุตสาหะในการเดินทางไปศึกษาค้นคว้าความรู้อยู่ตลอดเวลา ในภายหลังเมื่อท่านได้เข้าทำงานเป็นครูประชาบาลจึงได้รับตำแหน่งเป็นครูใหญ่ ก็ยังเป็นโอกาสอันดีที่ทำให้ท่านได้ไป "ลงพื้นที่" ศึกษาค้นคว้าความรู้ตามโรงเรียนรอบนอก ไปค้นคว้าหาคำบรรดาเรื่องราวต่าง ๆ โดยทั่วไปอยู่เสมอ จนทำให้ท่านได้พบกับคัมภีร์เก่าแก่ที่สามารถนำคำคำดลออกไว้ หรือหาดาบันที่มีความรู้พออ่านออกเขียนได้มาคัดลอกให้ได้มากมาย ซึ่งเห็นได้ว่าท่านอาจารย์สิงห์สมัย คือ บุคคล