ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่ส่งสมไว้ซึ่งปูมหลังของ นักวิจัยเชิงคุณภาพและมนษยวิทยาวัฒนธรรม (Ethnography and Qualitative Researcher) อย่างแท้จริงท่านหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นผู้มีสายตาที่ไกลในฐานะรักษ์ คัมวิธีบริบทบำทตั้งแต่ต้นอย่างชัดเจน ยิ่งในภายหลังเมื่อท่านอาจารย์สิงห์จะได้ออกจากการเป็นครูใหญ่แล้วย้ายมาสอนด้านภาษาและวรรณกรรมล้านนาที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถึงทำให้ประตูของการส่งเสริมและอนุรักษ์วรรณกรรมล้านนาของท่านยิ่งเปิดกว้างมากขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าวอาจารย์สิงห์จะไม่เพียงเรียบเรียงตำราวรรณกรรมล้านนาขึ้นเท่านั้น ท่านยังพยายามฟื้นฟูและเผยแพร่ “อักษรตัวเมือง” ล้านนาออกไปอย่างแพร่หลายด้วย เพื่อหวังให้นุ่นต่อ ๆ มาสามารถอ่านออกเขียนได้ โดยไม่ให้ถูกจำกัดอยู่แต่เพียงภาษาพูดอย่างเดียว ซึ่งจะแหวกว่ายถือเป็นจังหวะก้าวที่สำคัญที่สุดที่คุณปารอย่างยิ่งต่อการศึกษาคัมภีร์โบราณล้านนาของนักวิจัยรุ่นต่อ ๆ มาโดยตรง
พระธรรมนันทิโสภณ (มนต์ คุณอาโร่ ป.ธ.๓)
เจ้าอาวาสวัดช้างค้ำ จ.น่าน (ชายบน)
ศาสตราจารย์ยาราล ณฤดีอุล (Prof. Dr. Harald Hindhus) (ขวาบน)
อาจารย์อุบลพร วรรณเลี่ยม (ขวาล่าง)
อาจารย์สมเด็จ วิมลเทพ (ชายล่าง)
การดำเนินการศึกษาและอนุรักษ์คัมภีร์โบราณล้านนาของท่านอาจารย์สิงห์จะวรรณสัย ทำให้วรรณกรรมล้านนา สามารถนำไปส่งแวดวงนักวิชาการต่างประเทศด้วย โดยศาสตราจารย์ยาราล ณฤดีอุล (Harald Hindhus) ชายเงรมัน ก็เป็นหนึ่งในนั้น ซึ่งในภายหลังทั้งอาจารย์สิงห์จะวรรณสัยและศาสตราจารย์ยาราล ณฤดีอุลมีโอกาสทำงานร่วมกันเป็นจำนวนมาก เช่น โครงการสำรวจคัมภีร์ในเขต ๙ จังหวัดภาคเหนือ ทำให้ได้บรรจุกรมล้านนา วรรณกรรมชาดกทั้งในบิตา ๕๕๕ อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๒