การสร้างพระพุทธรูปในธรรมกาย  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2562 หน้า 49
หน้าที่ 49 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการสร้างพระพุทธรูปตามตำราโบราณที่อ้างถึงธรรมกาย ซึ่งมีการศึกษาวิจัยจากเอกสารที่สำคัญที่สุดเกี่ยวกับลักษณะและคุณสมบัติของพระพุทธรูป โดยยกตัวอย่างตำนานสร้างพระเจ้าและพิธีชุดสวดที่เกี่ยวข้อง การสร้าวพระพุทธรูปให้เข้าใจธรรมกายและกระบวนการพุทธาภิเษก เป็นการศึกษาเจาะลึกถึงรายละเอียดเกี่ยวกับกายธรรมและการเคลื่อนไหวทางพระพุทธศาสนา รวมถึงการบันทึกไว้ในวัสดุต่าง ๆ เช่น ทองคำ แผ่นเงินและอื่น ๆ

หัวข้อประเด็น

- ธรรมกายและคุณสมบัติของพระพุทธรูป
- การสร้างพระพุทธรูปตามพิธีกรรม
- การศึกษาวิจัยในธรรมกาย
- ประวัติศาสตร์การสร้างพระพุทธรูป
- ความสำคัญของพิภกถ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ส่วนหนึ่งของพับว่าวด้วยเรื่องภูมิวามีปรากฏระบุว่าคำว่า “ธรรมกาย” (ในกรอบสีแดง) อยู่หลายแห่ง อาทิ ธรรมกายพุทธลักษณะ อันมีธรรมกาย เป็นต้น ที่เรียกว่า “สูกูล่างพะเยา” ซึ่งก็นับว่าทางพระพุทธศาสนา โบราณคดีหลายท่านได้มีการศึกษาและสำรวจตำแหน่งสร้างพระพุทธรูปต่าง ๆ กันไว้อย่างต่อเนื่อง จนทำให้ได้แผนเอกสารตำราดังกล่าวฉบับหนึ่งเรียกว่า “ตำนานสร้างพระเจ้า (พระพุทธรูป) ฉบับวัดเชียงมั่น” ซึ่งท่านนับว่า เป็นเอกสารโบราณเขียนบันทึกไว้ในพุทธ เรียกว่า “พิภกถ” เนื้อในนี้ก็ความรู้หลายเรื่อง นับแต่การเจาะลักษณะสำคัญของพระพุทธรูป สัดส่วนของพระพุทธรูป ตลอดจนพระคุณสมบัติสำคัญเรียกว่าธรรมกาย การสร้างพระพุทธรูปดังกล่าวนี้ ถือเป็นสื่อให้รู้ถึงกายธรรมของพระองค์ เมื่อกระษาพไว้ ให้ถวายคำสรรเสริญพระคุณน้อมเข้าใจของตน เช่นเดียวกับการสร้างส่วนต่าง ๆ ของพระพุทธรูป นับแต่พระโมลีลงมาถึงพระบาท ก็มีบาลีสรรเสริญพระแต่ละอย่างให้เขียนลงในวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นเงิน แผ่นทองคำ ทองแดง เหล็ก(ตะกั่ว) เป็นต้น ตามแต่ที่จะได้มา สิ่งที่จดหามาได้ใส่พระคุณไว้แต่ละบาท เรียกว่า “สร้างกายอธรรม” แล้วนำไปบรรจุตามส่วนต่าง ๆ ของพระพุทธรูป บอกวิธีสร้างหัวใจพระพุทธรูป กำหนดขนาดของอวัยวะภายในต่าง ๆ เช่น หัวใจ ตับ ปอด ม้าม เอาไว้ในเจน และมีแจ้งพิธีการสวดพุทธาภิเษกเอาไว้ด้วย ซึ่งก็ตรงกับลักษณะของ “องค์สถานนสถานบันวิจัยนานาชาติธรรมมัย” ที่ท่านได้เคยกล่าวไว้ว่าคุณลักษณะของพระธรรมนายนี้เป็นแต่เพียงองค์ธรรมหมวดหมู่คำสอนเท่านั้น แต่เป็นประกฎดั่งพระวรรยายที่แท้จริงภายในเลยทีเดียว ซึ่งท่านคณะทำงานวิจัยของสถานบันวิจัยนานาชาติธรรมมัยกำลังศึกษาวิจัยอย่างละเอียดและจะได้นำเสนอไป (อ่านต่อฉบับหน้า) อ้างอิงจากตำราการสร้างพระพุทธรูปจากคัมภีร์โบราณ http://phil-re4you.blogspot.com/2016/03/blog-post_23.html
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More