ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุปลักษณ์
อุปลักษณ์
อ่านฉบับนี้ ข้อคิดเห็น
เรื่อง : พระมหาปองศักดิ์ ฐานิโย, ดร.
ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๒๐ : รูปแบบคณะกรรมการบริหาร (Executive Board) ในสมยุติพุทธกาล
ภายหลังจากที่พระพุทธองค์ได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาแล้วในวันคตเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้มีความมุ่งมั่นรับฟังธรรมเข้ามาศึกษาพระพุทธศาสนากันเป็นจำนวนมาก บ้างฟังธรรมแล้วบังเกิดศรัทธา
เองพระรัฐนฤตรัยว่าเป็นสมณะตลอดชีวิต บ้างขอรบพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา เป็นเหตุให้พระศาสนาของพระธัมป์เจริญงอกงามไปทั่วแผ่นดินอินเดียในยุคนั้น
เกี่ยวข้องกับการบรรพชุสมบัติ ทำให้เราได้เห็นถึงวิวัฒนาการของการโอนถ่ายอำนาจ
การตัดสินใจจากตัวบุคคลไปสู่รูปแบบของคณะกรรมการบริหาร (Executive Board) ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุผลสำคัญที่ทำให้พระศาสนาทรงดำเนินมาจนปัจจุบันนานกว่า ๒,๐๐๐ ปี โดยมีวัตนากรดังกล่าว ดังต่อไปนี้
รูปแบบที่ ๑ การบวชแบบ “เอฏิกิจกุจุสมปทา” ซึ่งเป็นวิธีการที่พระพุทธเจ้าทรงให้การบวช
แก่ญาติผู้ป่วยด้วยพระองค์เอง ดังเช่นการบวชของพระปัญจวัคคีย์ พระสละและสหาย พระกัสสปะ
๓ พี่น้องและบิณฑบาตรเป็นอันดีติภูมิ รวมถึงพระสารBizและพระโมคัลลานะผู้เป็นอัครสาวก
(รายละเอียดได้ใน วิม.ท. ๔/๑๘/๒๕, ๔/๒๘/๓๖, ๔/๑๐/๓๐/๓๙-๔๐, ๔/๑๕-๑๖/๒๑-๒๒, ๔/๒๗/๗๗ แปล joker)
รูปแบบที่ ๒ การบวชแบบ “ติสราณคณะสมปทา” ซึ่งเป็นวิธีการที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต
ให้พระอันทนตาวากำกับการวินัยให้แก่ผู้มีศรัทธา โดยไม่ต้องรอเมรมเดินทางมาเข้าไป
พระพุทธองค์จากแดนไกล (รายละเอียดได้ใน วิม.ท. ๔/๑๕/๑๕-๑๓ แปล joker)
รูปแบบที่ ๓ การบวชแบบ “อุฏฏิตกุจุกรรมวาจา” ซึ่งเป็นวิธีการบวชให้แก่บุตร โดย
พระพุทธองค์ได้รงเลิกการบวชแบบ “ติสราณคณะสมปทา” แล้วทรงให้นำจากดลตนใจแก่
คณะสงฆ์ในรูปแบบของ “คณะกรรมการบริหาร” นั่นเอง (รายละเอียดได้ใน วิม.ท. ๔/๒๙/๗๐/๙๗-๙๙ แปล joker)
ดังจะเห็นได้ว่า ในระยะเริ่มต้นของการประกาศพระศาสนา อาจาจในาการตัดสินใจทั้งหมดจะอยู่ที่
พระพุทธองค์ และต่อมามาจากการตัดสินใจได้ขยายออกไปสู่พระอรหันต์สาวก ในระยะนี้เอง
แม้จะมีการบวชแบบ “ติสราณคณะสมปทา” (รูปแบบที่ ๒) แต่พระพุทธองค์ยังประกบการบวช
แบบ “เอฏิกิจกุจุสมปทา” (รูปแบบที่ ๑) อยู่เนือง ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาเริ่มปกหลัก มีมุ่งมั่น
บังเกิดขึ้นมากมาย พระพุทธองค์จึงทรงโอนถ่ายอำนาจจากการตัดสินใจในการรับบวชเข้ามาสู
พระธรรมวินัยในปัจจุบันของ “คณะกรรมการบริหาร” หรือเรียกว่า “อุฏฏิตกุจุกรรมวาจา” รูปแบบ
ที่ ๓ อันเป็นรูปแบบที่สืบต่อตามมาจนถึงปัจจุบัน