การศึกษาและการเขียนในระบบดิจิทัล  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2562 หน้า 47
หน้าที่ 47 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการใช้งานระบบดิจิทัลในการศึกษา โดยเน้นว่ามันได้ช่วยเสริมสร้างความถูกต้องในการศึกษาและการบันทึกเรื่องราวทางธรรมะในพิพัฒน์สื่อต่าง ๆ อาจารย์อุบลพร วรรณสัยกล่าวถึงความสำคัญของสิ่งที่ค้นพบในพิพัฒน์สื่อ ซึ่งช่วยให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างธรรมะและปรัชญาทางพุทธศาสนา พร้อมทั้งมีการชี้แจงถึงบทมนัสการรภรรกายและการประยุกต์ใช้ในด้านความเชื่อและการภาวนา โดยบทนี้มีศักยภาพในการสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ศึกษาธรรมะในอนาคต นอกจากนี้ยังได้พูดถึงความสัมพันธ์ของเนื้อหาและองค์ประกอบทางศิลปะที่อยู่ในกรอบฐานวรรณกรรมและการภาวนา ซึ่งก่อให้เกิดแนวทางใหม่ในการศึกษาและบันทึกทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-บทวรรณมิสการรภรรกาย
-ธรรมะและการภาวนา
-การศึกษาในยุคดิจิทัล
-ความเชื่อโยงระหว่างธรรมะและศาสตร์พุทธ
-พิพัฒน์สื่อและวรรณกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในระบบดิจิทัล เป็นต้น ซึ่งได้ช่วยให้เส้นทางของการศึกษาเทียบเคียงความถูกต้องของคัมภีร์ที่พบตามวัดวาอารามต่าง ๆ นั่นมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถูกต้องมากยิ่งขึ้น ที่น่าที่สุดแล้วได้ทำให้อาจารย์อุบลพร วรรณสัย ได้พูดให้คณะทำงานฟังว่า การพบมวลในพิพับสือนี้เป็นเรื่องอัศจรรย์เรื่องหนึ่ง เพราะโดยทั่วไปแล้วเรื่องที่มีการบันทึกไว้ในพิพับส่าน “เขาไม่ค่อยจะแบ่งกันในเรื่องเกี่ยวกับธรรมะหรือว่าวรรณกรรมมากเท่าไรนัก... เรื่องที่บันทึกไว้ในพิพับส่านใหญ่จะเป็นเรื่องของตัวบันทึกเอง...แต่ในที่สุดก็ทำให้ได้มาพบเรื่องมวลภรรกายโดยที่นำปกเขียนไว้เป็นเรื่องของการภาวนา...ก็มีว่ามหลายวิธีการเกี่ยวกับการภาวนาเรื่องธรรมะหลาย ๆ ฉบับ ก็เปิดกว้าง เราก็เปิดมาในช่วงท้าย ๆ พ็บสา เราก็เจอ เรื่องมักสรภรรกายที่มีระบุว่า ธรรมภาย อยู่หลายแห่ง ส่วนข้างบนเป็นภาษาบาลี ข้างล่างก็จะแปล...”1 อาจารย์อุบลพร วรรณสัย กล่าวอีกว่า บทวรรณมิสการรภรรกายที่พบนี้ มีบู๊ญึงชื่อเจ้าภาพสนับสนุกการเขียนไว้ร้อย มีชื่อเขียน วัน-เวลาเขียนไว้ครบถ้วน โดยบทมิสการรภรรกายนี้ ระบุไว้ตามแถวรูปหนึ่งจากคณะเชียงยัน วัดพระธาตุตรุฏฐ์ ร้อง-รวมหว้ารา จ.ลำพูน อายุรวม ปี บินผู้เขียนไว้ อายุของพิพับส่านน้ำจะมีความแก่เกิน 120 ปีแล้ว เพราะนับไว้ตั้งแต่ปัจจับอรรถ ระบบ(พุทธศักราช ๒๕๑๓) ซึ่งเนื้อหาที่ปรากฏในบทมิสการรภรรกายด้านกล่าว เป็นการอธิบายถึงความเชื่อโยงกันระหว่างธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กับพระวจนะของพระองค์โดยตรง ตั้งแต่พระโมคคัล (มุนพะกะศา) ลามาจนปลายพระบาท โดยในส่วนสุดท้ายของคำมนัสการรภรรกายนี้มีคำว่าอันสังส ของการสวดภาวนานทีได้ด้วยว่า หากว่าใครหม่นวานนา หรือปรารถนาพุทธภูมิ พุทธภาวะ คือความเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต หรือว่าปรารถนาที่จะเอานิพพานเป็นเป้าหมายก็จะสมความปรารถนา และยังมีอส่งสื่ออีกส่วนหนึ่งคือหากผู้ใดหม่นวานนา(บทมนัสการรภรรกาย) นิอย่างต่อเนื่องก็จะส่งผลมิได้ปลุกบามิตุ (คือมีแต่คติเป็นที่ไปโดยส่วนเดียว) ทั้งนี้เชื่อว่าบทมนัสการรภรรกายนี้จะมีการนำไปคัดลอกและปรารถนาเป็นจำนวนที่สะดวกสอดคล้องไปตามสัมภาษณ์ อาจารย์อุบลพร วรรณสัย บุตรสาวของท่านอาจารย์สิ่งสมะ วรรณสัย ครุภิมปัญญาด้านจริกิอักษรตัวเมืองล้านนา, เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๒
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More