ข้อความต้นฉบับในหน้า
พยายามศึกษาค้นคว้าถึงประวัติศาสตร์และสาระสำคัญในเรื่องราวของธรรมกายไว้มากมาย จนทำให้เราถามว่าเรื่องราวหลักฐานธรรมกายนี้มีปรากฏอยู่ ณ ที่ใดหรือในเอกสารแห่งใดบ้าง หรือมีความสำคัญอย่างไรบ้าง เช่น หลักฐานเรื่องธรรมกายในพระไตรปิฎก หลักฐานเรื่องธรรมกายในอรรถกถา ภุทวา หรือในคัมภีร์สุขฺภิรมรัตน์ต่าง ๆ เป็นต้น (ดังนี้ยังไม่รวมถึงหลักฐานธรรมกายที่ปรากฏในมิลินทปัญหา หรือในมุมมองโพธิกาถือเป็นคัมภีร์ที่ได้รับความนิยมศึกษาอย่างมากของนักวิชาการพระพุทธศาสนายุ่งต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน) ซึ่งในทัศนะของผู้เมียนแล้วเห็นว่า การที่สังคมยึดมั่นความสนใจหรือคำถามต่อเรื่องราวของธรรมกายมากเพียงใด ก็ยังจะก่อให้เกิดการผลักดันให้เกิดการศึกษาค้นคว้าขวามจริงเกี่ยวกับเรื่องธรรมกายมากขึ้นอย่างกว้างขวาง และเนื่องจากเรื่องราวของธรรมกายนั้นเป็นของจริงมีอยู่จริง และทนทานต่อการพิสูจน์ ฯลฯ เมื่อเป็นดังนั้นก็จะยิ่งส่งผลให้เหน็ดแล้วความเข้าใจเรื่องราวของธรรมกายก็จะยิ่งเป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องมากขึ้นเอง ดังนั้นจงมีไม่เป็นสิ่งที่เกินไปจากความเป็นจริงเลยหากจะกล่าวว่าพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺสโร) นั้น ท่านมิได้เป็นเพียงบุคคลผู้ฟู้งความรู้เรื่องธรรมกายที่ขาดหายไปในประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาให้คืนกลับมาถึงครั้งหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่ท่านยังเป็น “ต้นกระที่สำคัญ” ที่ทำให้เกิดการศึกษารวบรวมธรรมกายอย่างจริงจังในปัจจุบันและในอนาคตอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ณ ขณะนี้ (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๙) การศึกษาเรื่องราวของธรรมกายในและหลักฐานธรรมกายนันได้ถูกยกระดับขึ้นไปแล้วในระดับสากล และในนานาประเทศต่างก็มีความสนใจที่จะศึกษารวบรวมธรรมกายเพิ่มขึ้นในหลายมิติด้วยกัน กล่าวคือทั้งในประวัติศาสตร์ โบราณกดี คัมภีร์โบราณ ตลอดจนครอบคลุมไปถึงการน้อมนำมาปฏิบัติจริงแล้วในหลาย ๆ ประเทศ ซึ่งเท่ากับว่าการศึกษาเรื่องราวของธรรมกายในปัจจุบันนั้นได้ก้าวไปกลายว่าที่จะอยู่ในขอบเขตของ “หลักฐานธรรมกาย” ที่มุ่งยันถึงความมีอยู่จริงแล้วเพียงอย่างเดียวแต่เพียงอย่างเดียวแล้ว หากแต่ยังได้ววดมานการครอบคลุมไปถึงเรื่องของการนำไปปฏิบัติอย่างถูกต้อง การยืนยันผลการปฏิบัติได้จริงจากพุทธศาสนิกชนรวมทั้งผัสสนใจจากกษัตริย์ทุกภาษามากขึ้น เท่ากับเป็นการขยายมิติการศึกษารู้จากหลักฐานธรรมกายที่เป็นวัตถุและ “หลักฐานธรรมกายที่มีชีวิต” ควบคู่กันไปทั้ง ๒ ทาง ทำให้ในที่สุดแล้วก็จะเกิดการยืนยันความมีอยู่จริงของธรรมกายได้มากขึ้น ชัดเจนขึ้น และมีความเป็นอากาลิโกได้มากขึ้น โดยปรากฏจากการกล่าวเกี่ยวย่อมอีกต่อไป ทั้งนี้ สำหรับผู้เมียนแล้ว ภารกิจในการศึกษาค้นคว้าระเรื่องราวตลอดจนการเชื่อมโยงหลักฐานธรรมกายทั้งที่ในระดับปริยาย ปฏิบัติ ปฏิเวธนั้น ก็ย่อมจะต้องเป็นหน้าที่ของพวกเราลูกศิษย์หลานศิษย์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ ฯ คนต่อไป ตราบจนกว่าจะถึงที่สุดแห่งธรรม
ขอเจริญพร
พุทธศักราช ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ ๔๗