การศึกษาพุทธศาสนาและธรรมกายในชีวิต  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2562 หน้า 48
หน้าที่ 48 / 63

สรุปเนื้อหา

การศึกษาด้านพระพุทธศาสนาและการค้นคว้าทางวิชาการของหลวงปู่พระมงคลเทพมุนี (สด จนทะโร) ซึ่งท่านทำให้เกิดความสนใจในธรรมกายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการเผยแผ่คำสอนและความเข้าใจในความเชื่อมโยงขององค์ความรู้ปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ จนได้บรรลุธรรมที่สูงสุด

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาในพุทธศาสนา
-ธรรมกาย
-หลวงปู่พระมงคลเทพมุนี
-ความจริงสัมบูรณ์
-การเผยแพร่คำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รวมทั้งใฝ่ใจศึกษาดาราพระพุทธศาสนาและศึกษาจากครูบาอาจารย์อย่างทั่วถึงมาเป็นเวลานานนับจากเป้าหมายสำคัญ ๆ ๒ ส่วน คือ ๑) ท่านต้องการศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เป็นความจริงสัมบูรณ์ (Absolute Truth) ที่เกี่ยวกับเรื่องโลกและชีวิต เป้าหมายของการเกิดมาของมนุษย์ ซึ่งชอบอยู่ในพระพุทธศาสนาให้แตกฉาน เป้าหมายข้อย่อยก็คือ การค้นคว้าหาความจริงเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่จะพ้นทุกข์ในพระพุทธศาสนา เพื่อจะได้นำความรู้นี้มาใช้ให้เกิดผลกับตัวท่านเอง เป้าหมาย ข ประกอบนี้ที่เป็นเครื่องต้นให้ท่านเกิดการตกผลึกในความรู้ขั้นสุดท้าย จนมุ่งสู่บรรลุธรรมที่สูงสุดในแดนบน บางดูเวียง จ.นนทบุรีในเวลาต่อมา และหลังจากนั้นการที่ท่านยังคงศึกษาค้นคว้าต่ออย่างไม่หยุดหย่อน รวมกับการตั้งโรงงานทําวิชาชีพที่วัดปากน้ำ ภัยเจริญ ก็ยังทำให้ท่านเข้าใจถึงความเชื่อมโยงขององค์ความรู้ ๔ ส่วน คือ ปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธมากขึ้นไปอีกอย่างน่าชื่นชม ดั่งจะเห็นได้จากพระธรรมเทคนิคของท่านที่มีความลึกซึ้งลงลึกอย่างมาก ประกอบกับความสำเร็จในการเผยแผ่คำสอนในวิชาธรรมทายอย่างกว้างขวางมาตลอดชีวิตของท่าน ซึ่งคำสอนที่ท่านถ่ายทอดมาตามนี้ไม่เคยแม้แต่ครั้งเดียวที่จะหยุดออกจากปริมาณความรู้ของพระพุทธศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเลย ดั่งได้กล่าวมาแล้ว [ภาพ] อนึ่ง หากจะกล่าวว่า การบังเกิดขึ้นของพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทะโร) ได้ทำให้ความสนใจในเรื่องราวของ “ธรรมกาย” นั้นมีเพิ่มขึ้นอย่างมากจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากท่านได้เผยแผ่คำสอนในวิชาธรรมภายในให้เป็นรูปในหมู่พุทธศาสนิกชนจำนวนมากและมีผู้รับรองวามตามท่านได้แล้ว การรวมรวมเนื้อเรื่องราวของธรรมกายก็ยังเกิดขึ้นอย่างกว้างขวางเช่นเดียวกัน ซึ่งนอกจากการสืบค้นเรื่องราวของธรรมกายจากบรรดานักวิชาการพระพุทธศาสนาท่านอื่น ๆ แล้ว เหล่ายศยานุศิษย์ของท่านในยุคต่าง ๆ ก็ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More