ข้อความต้นฉบับในหน้า
อัญญา
อ่านอดีต ขีดอนาคต
เรื่อง : พระมหาพงศ์ศักดิ์ ดาญาโย, ดร.
ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๒๓: ความสัมพันธ์และความสำคัญของศีล สัจจ์ ปัญญา
ใน "มหาปรีนพานสูตร" พระพุทธอรดประทาน “ธรรมมาทาส” (dhammādāsa) หรือ "แว่นธรรม" กล่าวคือ มีศรัทธามั่นในพระรัตนตรัยและมีคำอธิษฐานรีสู่ที่เป็นไปเพื่อสมาธิ เพื่อให้พระพุทธสาวกพากันดำเนินคืบหน้าออกเนื่องมาก ผู้ใดประกอบด้วยธรรมเหล่านั้น ย่อมเป็นเหตุให้ไม่ตกไปในทุกฌามา เป็นพระโลดบันผู้ทำสำเร็จเป็นพระอรหันต์ต่อไปในอนาคต หากมองโดยผิวเผิน อาจทำให้เราเข้าใจไปว่า “ขอให้มีเพียงศีลธรรมและศีลเท่านั้น เราก็จะสามารถบรรลุผลสมพงษ์ได้” แต่หากเราพิจารณาถึงพระพุทธดำรัสช่วงท้ายคำว่า “ศีลที่พระอรหันต์ขอใจ...เป็นไปเพื่อสมาธิ” นั่นหมายความว่า “นอกจากมีสิทธิ์อัธยาศัยแล้ว จะต้องเจริญสมาธิภาวนา ด้วยซึ่งเมื่อศึกษาทัน “มหาปรีนพานสูตร” ต่อไป เราจะพบว่ามีความเชื่อมโยงดังต่อไปนี้ ศีลมีลักษณะอย่างนี้ สมาธิมีลักษณะอย่างนี้ ปัญญามีลักษณะอย่างนี้ สมอัญบุตรคอลอรมโดยมีศีลเป็นฐาน ย่อมมีผลมาก มีอันสำเร็จมาก มีอันส่งผลมาก มีอันส่งมาก จิตอันบุตรคอลอรมโดยมีปัญญาเป็นฐาน ย่อมหลุดพ้นโดยชอบจากอาสะทั้งหลาย คือ กามสวะ ภาวะสวะ และอวิชชาสวะ" (ท.ม. ๑๐/๑๓๙/๑๔๘, ๑๐/๑๗๙/๑๔๐, ๑๐/๑๕๕/๑๔๐, ๑๐/๑๗๕/๑๔๔, ๑๐/๑๘๒/๑๔๕, ๑๐/๑๙๐/๑๔๕, ๑๐/๑๙๒/๑๔๖, ๑๐/๑๙๙/๑๔๗, ๑๐/๒๐๓/๑๔๙, ๑๐/๒๐๕/๑๕๐, แปล, มจร)
พระพุทธดำรัสนี้ พระพุทธองค์ตรัสถึง ๓ ครั้ง ใน ๑๓๑๙ คือ อัมพลัฏฏิกวัน โภฏิกุม นาทีทกาม อัมพปลันัน ภัณฑคาม และอ่านเทียนเจดีย์ในโคลงนาคา โดยตรัสถึงความเชื่อมโยงของศีล สมาธิ ปัญญา กล่าวคือ สมาธิที่มีผลมาก ต้องมีศีลเป็นฐาน และปัญญาที่มีผลมาก ต้องมีศีลเป็นฐาน นอกจากนั้น พระพุทธองค์ยังได้ตรัสถึงความสัมพันธ์ระหว่างสมาธิและปัญญาไร้เป็นพิเศษใน “ธรรมบท” ที่ว่า “มนายอ่อนไมมีแผ่ไม่มีปัญญา ปัญญาก็อยาไม่มีผู้ไม่มีมานา ผู้ทั้งงานและปัญญานั้นแจ้งนบว่าด้วยกลินั้นพาน” (ขุ.ธ. ๒๕/๒๗๙/๑๐๙๙) ซึ่งเป็นการกล่าวถึงความสัมพันธ์และเป็นการยืนยันถึงความสำคัญของสมาธิและปัญญา ว่าเป็นสิ่งที่เกิดจากกันและไม่สามารถแยกขาดจากกันได้ั้นเอง ดาว่าเมื่อศึกษาพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นแหล่งบันทึกพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์ รวมถึงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์รองพระพุทธศาสนา เราจึงต้องค้นคว้าและพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดพลาดกลาดเคลื่อนไป