การใช้คำพูดกับพระภิกษุสงฆ์ตามระดับสมณศักดิ์ ก่อนไปวัด หน้า 18
หน้าที่ 18 / 27

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอหลักการใช้คำพูดที่ถูกต้องและเหมาะสมกับพระภิกษุสงฆ์ตามระดับสมณศักดิ์ ไม่ว่าจะเป็นสมเด็จพระสังฆราชไปจนถึงพระราชาคณะชั้นสามัญ การแสดงความเคารพด้วยคำพูดและรูปแบบการสื่อสารที่ชัดเจนจะเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างญาติโยมและพระสงฆ์ รวมถึงการปฏิบัติตัวในสถานการณ์ที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้รบกวนเวลาของท่าน และแสดงถึงความเคารพในข้อปฏิบัติภายในศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การเคารพพระภิกษุสงฆ์
-ระดับสมณศักดิ์
-การใช้ราชาศัพท์
-มารยาทในการสื่อสาร
-คำพูดที่เหมาะสม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

18 - เมื่อเสร็จกิจธุระแล้วให้รีบลากลับ ไม่ควรอยู่นานเกินควร เพราะเป็นการรบกวน เวลาของท่าน กราบท่านด้วยเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง เมื่อจะหาท่านกลับ 5. การใช้คําพูดกับพระภิกษุสงฆ์ตามระดับสมณศักดิ์ 1) สมเด็จพระสังฆราช 2) สมเด็จพระราชาคณะ 3) พระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรอง (รองจากชั้นสมเด็จพระราชาคณะ) 4) พระราชาคณะชั้นธรรม 5) พระราชาคณะชั้นเทพ 6) พระราชาคณะชั้นราช 7) พระราชาคณะชั้นสามัญ 8) รองพระราชาคณะ ชั้นพระครู และฐานะกรม 5.2 การใช้ค่าพูดกับพระภิกษุสงฆ์ตามระดับสมณศักดิ์ 1) การใช้คำทูลสมเด็จพระสังฆราช ถือหลักการใช้ราชาศัพท์ ฐานันดรศักดิ์ชั้นพระองค์เจ้าเช่น ระดับสมณศักดิ์ สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ท่าน ฝ่าพระบาท ฝ่าบาท คำแทนตัว ผู้พูดชาย เกล้ากระหม่อม กระหม่อม, ผู้พูดหญิง กระหม่อมฉัน หม่อมฉัน กระหม่อม คําร้ ค่าพูดชาย พะยะคะ, หญิง เพคะ 2) การใช้คําพูดกับสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป ถือหลักการใช้ค่าสุภาพ ตามฐานานุรูป เช่น สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะชั้นราช ใต้เท้า ขึ้นไป) เกล้าฯ ครับกระผม ครับผม พระเดชพระคุณ เกล้ากระผม ดิฉัน ขอรับกระผม เจ้าคะ 3.) การใช้คําพูดกับพระราชาคณะชั้นสามัญลงมา ถือหลักการใช้ค่าสุภาพ 3.1 พระราชาคณะ 3.2 พระครูสัญญาบัตร ท่านเจ้าคุณ ท่าน กระผม ดิฉัน ครับ เจ้าค่ะ, ค่ะ ท่านพระครู ผม ดิฉัน ครับ ค่ะ พระครูฐานาป พระเปรียญ ท่าน ท่านมหา ท่าน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More