ข้อความต้นฉบับในหน้า
การตักบาตรในครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการถวายบูชารามพระเดชพระคุณของหลวงปู่แล้ว ยังเป็นโอกาสที่ดีที่ลูกหลานของท่านจะได้เชื่อมสายบุญสายสมานกับท่านผู้เป็นทายาทบูชาพุทธศาสนิกชนทั่วประเทศให้เกิดความสุขทั้งกายและใจ
สัมโมทนียกถา
พระเทพสุวรรณโมลี
เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี
ขอสรรพมนต์ความดีความงามทั้งหลายทั้งปวงจงบังเกิดแก่คุณสุกิจ ศรีสนุนพินิจ ว่าที่ผู้อำนวยการจังหวัดสุพรรณบุรี คุณสุกิจ จันทรล่าง รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี กัลยศิริ โชคประสิทธิ์ นายแพทย์ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต และผู้มีบุญทุก ๆ ท่านในมหาสมาคมนี้ ต้องถือว่านี้เป็นวันมหัศจรรย์ เป็นบังเกิดของหลวงปู่ พระเมตตาคุณพระเนื้อหลวงปู่ หลวงพ่อวัดน้ำน้ำ ท่านเกิดวันที่ ๑๐ ตุลาคมเดือนที่ ๑๐ ทางสุริยคติ และวันนี้ตรงกับวันที่ ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ทางจันทรคติ และพวกเราได้มาร่วมกันสร้างบารมี ๑๐ ทัศ ซึ่งในบั้นนี้เราทำกันครบ และบารมีที่เด่นชัดในวันนี้คือ วิริยะมิมิ เพราะเรามาจากที่กาล แล้วด้วยความจงรัก ภักดี ใจถึง ใจกล้าอย่างไร เพราะเรารู้ว่ายุคนี้เป็นยุคของผู้อันมั่นคง มัดจนรับเรา ตั้งแต่ต้นนั้น คันบ้างก็เป็นพวกมิซึ ก็ล้มไม่ลุก ใจล้น วันนี้เป็นวันมุทุมาลเลิศ ๑) เราได้บารมี ๑๐ ประการ ๒) เราได้บำให้กุทบ ๑๐ ประการ ๓) เราได้บำให้บูญญูรออัต ๑๐ ประการ ๔) เราได้พระเดชปฏิบัติอัตตามหลักแท้จริง ความเมตตาธรรม ๑๐ ประการ เราได้มาประพฤติปฏิบัติภายใต้คำผู้อื่น ความรักธรรม ๑๐ ประการ เราได้มาประพฤติปฏิบัติ ตามทางแห่งบุญ ที่เรียกว่าลูกกรรมม ๑๐ ประการ ความชอบ ๑๐ ประการ ที่เรามาบำรุงในวันนี้ก็เพื่อสิ่งที่สุดแห่งธรรมในวันหน้า ตามที่พระเดชพระคุณท่านเจ้าอาวาสพระเทพญาณมหามุนีที่จะกล่าว เราไปตามเส้นทางที่ถูกที่ชอบ ๑๐ ประการ หรือสมมติจะ ๒ คือ สมมุติ ๑ สมมาจุติ ๒ สมมามีมุติ ๓ สมมามีธรรม ๔ สมมามีญาณ ๕ สมมามีมิตี ทางดำเนินชีวิตก็ถูกที่ชอบ ที่นำพาเราไปยังที่สุดแห่งธรรมได้ นั่นคือพระ ถ้าเป็นภาษาไทย ประการแรก รู้จักทุกข์ สนุกกับการแก้ปัญหา พูดจาเป็นหลักฐาน ทำงานสุจริต เลี้ยงชีพ ชอบธรรม พยายามสัมมาสมอ ไม่ผลอัดสิทธิ์ สามจิตมันส์ ปัญญาริษฐิ จะพานำนิยมดีที่สุดแห่งโลกได้ นี่คือสัมมาปฏิบา ทางที่พระพุทธเจ้าสอนไว้ ก็เกิดขึ้นพร้อมมูลในวันนี้ ซึ่งเป็นวันประชุมเลข ๑๑ ดังที่ได้กล่าวมา และ “๑๐” ประการสุดท้าย ก็เชื่อว่างานบูชียิ่งใหญ่วันนี้ เทวดาทั้ง ๑๐ โลกก็ดู ก็จะมารู้ ร่วมบูช และร่วมอนุโมทนากับเราด้วย
๑๒