การเผยแพร่พระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2555 หน้า 53
หน้าที่ 53 / 101

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยนำเอาคุณธรรมและประสบการณ์จากพระอรหันต์เป็นแบบอย่าง เพื่อให้ประชาชนเข้าใจและปฏิบัติตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในยุคต่างๆ การเคารพธรรมและการฝึกฝนนักเรียนในศาสนาเป็นสิ่งสำคัญ การเผยแผ่พระธรรมตามที่พระองค์ทรงสอนไว้ ให้รักษาคุณธรรมและมีสติในการใช้ชีวิต เพื่อให้เป็นต้นแบบที่ดีแก่ชาวโลก ในการดำเนินชีวิตให้พ้นจากกิเลสและบรรลุพระนิพพาน.

หัวข้อประเด็น

-การเผยแพร่พระพุทธศาสนา
-การฝึกอบรมครูในพระพุทธศาสนา
-คุณธรรมในพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติตามคำสอน
-การลดละกิเลส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แห่งสามารถบญงานเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้ขยายไปทั่วทุกแดนได้ โดยอาศัยศาสวัตรอันงามและความเป็นกัลยาณมิตรของพระอรหันต์เป็นต้นแบบ นำความรู้และประสบการณ์ที่ท่านฝึกฝนมาสนด้านเองมาตลอดให้ นำหลักในการอธิบายขยายความพระธรรมคำสอนของพระสัมพุทธเจ้าให้ประชาชนเกิดความเข้าใจถูกต้อง เกิดความเลื่อมใสศรัทธา พร้อมนำไปปฏิบัติเป็นกิจวัตรสามารถบรรลุธรรมได้ส่วนในยุคที่พระธรรมคำสอนมามากแล้ว การเครียญตอบรับมฤตภาพนี้มาจากครูอาจารย์ แม้ว่ากุฏิชุดนี้จะไม่มีกิลาสี่ทรงกำหนดด่วนตามสัมปรสุทธได้ ประการ โดยคุณธรรม ๕ ข้อแรก คือ ธัมมัญญ อัตตัญญา อัตตัญญา มิตตัญญา กาลัญญา มโนเพื่อฝึกตนเองให้หมดกิเลส และเพื่อเป็นต้นแบบในการดำเนินชีวิตให้ชาวโลก ส่วนคุณธรรม ๒ ข้อสุดท้าย คือ ปริญญา และปุตคสรโปรปัญญา มโนเพื่อทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตรชาวโลกให้ทำการเลิสออกจากใจให้หมดสิ้น บรรจุพระนิพพาน ๓ ความรู้ประมาณคือหลักวิชาสำคัญในการฝึกอบรมครูในพระพุทธศาสนา พระภิกษุผู้เผยแพร่พระพุทธศาสนาไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ยังไม่หมดกิเลส หรือเป็นพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ไม่ว่าจะอยู่ในยุคต้นพุทธกาลที่ประชาชนผู้ศรัทธามีฉันทะ ลากสักการะยังไม่มีมาก หรือในยุคที่พระพุทธศาสนามรุ่งเรืองสุด ประชาชนมีศรัทธาเป็นอันมาก ยินดีถวายลากสักการะอันเป็นอุปนิสัย เลี้ยงบำรุงพระภิกษุทั้งหมดใน ๑๒ แห่งไมได้ๆๆ วันแล้วก็ถวาย พระองค์ก็ทรงกำ้มให้รู้จักใช้เจ้ฃโดยพิจารณาตามความจำเป็นนั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิต หลักฐานของเรื่องนี้สัมมได้จากโอวาทปาฏิหาริย์ซึ่งเป็นนโยบายสำคัญในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาดั่งแต่จุดต้นพุทธกาล ในโอวาทปาฏิหาริย์นั้นย่าพระองค์ผู้ทำงานเผยแผ่พระธรรมในโภคนนาทเพื่อเป็นต้นแบบดีในภาวะดำเนินชีวิตและเพื่อไม่ทำตนให้เป็นภะแก่กิเลสโดยมิตตัญญู คือ เป็นผู้จักประมาณในการรับ ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นช่วงต้นพุทธกาลหรือช่วงที่พระพุทธศาสนามความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด พระพุทธองก็ยังทรงกำชับอยู่เสมอว่า “ต้องประมาณ” โดยเน้นโอกาสถึงกับตรัสเตือนสติแรงๆ ว่า ผู้ที่ไม่ประมาณไม่ใช่ทายาทของพระองค์ แต่เป็นอามิสทายาทของพระองค์ต้องเป็นผู้ประมาณ จึงจะเรียกวาเป็นธรรมทายาท ของพระองค์โดยสรุปก็ ผู้ที่จะเป็นครูในพระพุทธศาสนานั้น ตราบใดยังไม่ถูกฝึกให้ประมาณในการใช้ออกปัจจัย ๔ ก็ยังไม่สามารถควบคุมกิเลสได้ ยังขาดคุณสมบัติที่จะฝึกให้เป็นครูที่ดีหรือเป็นนักแสดงที่ดีได้ อกาจของการสร้างครูในพระพุทธศาสนาจึงถูกสร้างขึ้นบนความรู้ประมาณนั่นเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More