พลังแห่งความดีในสังคม วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2555 หน้า 57
หน้าที่ 57 / 101

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นถึงความสำคัญของการสร้างคนดีในสังคมและการพัฒนาเครือข่ายคนดีที่สนับสนุนศีลธรรม การมีความรับผิดชอบต่อกิจกรรมดีและการเชื่อมั่นในความดีส่งผลให้สังคมเกิดความสงบและมั่นคง ความนำพาของศีลธรรมสามารถช่วยป้องกันและพัฒนาชีวิตของประชาชนให้ก้าวไปสู่การหลุดพ้นจากวัฏสงสาร ซึ่งจะทำให้พระพุทธศาสนาได้อยู่คู่กับสังคมอย่างยั่งยืน

หัวข้อประเด็น

-พลังแห่งความดี
-ศีลธรรมในสังคม
-ความรับผิดชอบต่อสังคม
-การสร้างเครือข่ายคนดี
-การพัฒนาชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

จิจใจคอคำและการกระทำต่อบุคคล และ ๓) จริงแสนจริงต่อการทำความดี ความจริงจัง ความจริงใจ ความจริงแสนจริงที่มีต่อบุคคลประจำทิศ ซึ่งจะเป็น พลังแห่งความบริสุทธิ์ที่ล้ำลึกในคุณศิษย์ มีความเชื่อมั่นในความดีและเต็มใจที่จะ เป็นคนดีของสังคม เพราะได้ประจักษ์แล้วว่า ผลแห่งกิจกรรมดี-ชั้นนี้มีจริง ย่อม กระทำดีย่อมมีผลเป็นสุข และกระทัยย่อมมีผลเป็นทุกข์จริง โดยดูจากผลงานของ กระทำต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับชีวิตของตนเองและคนอื่นในปัจจุบัน ในการวางโครงสร้างสังคมนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้ากำหนดให้ “ทิศ ๖” เป็น หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของสังคมด้วยเช่นกัน การที่แต่ละคนดูแลตนในทิศ ๖ ของตนเองให้ มีความรับผิดชอบทั้ง ๓ ประการได้แล้ว เมื่อนำทิศ ๖ ของแต่ละคนมารวมกัน ก็จะ กลายเป็นเครือข่ายคนดีที่มีความเป็นเอกภาพ สังคมที่มีความเป็นเอกภาพของคนดีเช่นนี้ ย่อมกลายเป็นสังคมที่มีพลังเป็นเอกภาพของคนดีเช่นนี้ ย่อมกลายเป็นสังคมที่มีพลังของศีลธรรมเป็นสังคมที่มีคุณค่าแผ่ขยายในบ้านเรา เป็นกำแพงแห่งความดีเพื่อพระพุทธศาสนามีความเป็นเอกภาพมั่นคงยั่ง ยืนไป สังคมที่มีปราการแห่งความมั่นคงด้านศีลธรรมของตนเอง ศีลธรรมของสังคม สังคมของเศรษฐกิจ และการสร้างเครือข่ายคนดีประจำทิศ ๖ นี้ ย่อมมีความอคัญคง ไม่มีเพียงการสร้างคนดีขึ้นต่อ ๆ กันไปจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งเท่านั้น แต่ยัง พัฒนาสังคมให้มีความแข็งแกร่งด้านศีลธรรมไว้ป้องกันดูแลพระพุทธศาสนาให้มั่นคง ยืนยาวต่อไปตราบนานเท่านานด้วย ยิ่งกว่านั้นยังเป็นสังคมที่มีพลังแห่งศีลธรรมเป็นแรงขับเคลื่อนให้การพัฒนาสังคมด้านต่าง ๆ เป็นไปเพื่อการปิดหนทางรุก เปิดหนทางสวรรค์ ถางหนทางไปนิพพาน ทำให้ประชาชนเกิดและเติบโตในสังคมดี มีโอกาสที่จะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ ในวัฏสงสาร แม้ว่าพระองค์จะเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้วก็ตาม ดังนั้น สังคมที่จะปกป้องพระพุทธศาสนาให้นั่นยั่งยืน ก็คือสังคมที่มี ศักยภาพในการฝึกฝนอบรมประชาชนให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบต่อศีลธรรมของตนเอง ต่อศีลธรรมของสังคม ต่อกิจกรรมของเศรษฐกิจ และต่อการสร้างเครือข่ายคนดีประจำทิศ ๖ ซึ่งนอกจากจะก่อให้เกิดสันติสุขอย่างแท้จริงในสังคมแล้ว ผู้คนในสังคมยังมีโอกาส ฝึกทักษะกล้าแกล้วออกจากกิเลสออกจากใจตน เพื่อความพึงพาจากการเวียนว่ายตายเกิดใน วัฏสงสาร แม้ว่าพระองค์จะเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้วก็ตาม ดังนั้น สังคมที่จะปกป้องพระพุทธศาสนาให้นั่นยั่งยืน ก็จะสังคมที่มี ค่ายภาพในการฝึกฝนอบรมประชาชนให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบต่อศีลธรรมของตนเอง ต่อศีลธรรมของสังคม ต่อกิจกรรมของเศรษฐกิจ และต่อการสร้างเครือข่ายคนดีประจำทิศ ๖ ซึ่งนอกจากจะก่อให้เกิดสันติสุขอย่างแท้จริงในสังคมแล้ว ผู้คนในสังคมยังมีโอกาส ฝึกทักษะกล้าแกล้วออกจากกิเลสออกจากใจตน เพื่อความพึงพาจากการเวียนว่ายตายเกิดใน วัฏสงสาร แม้ว่าพระองค์จะเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้วก็ตาม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More