ข้อความต้นฉบับในหน้า
เป็นผู้ที่ปรากฏความเพียรอย่างต่อเนื่องเป็นกิจวัตร
เป็นผู้มีปัญญาเห็นการเกิดและการดับอันเป็นอิสระ (สัมมัสรญาณ)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรับรองว่า บุคคลมีคุณสมบัติครบทั้ง ๕ ประการนี้ หากได้ปฏิบัติธรรมอยู่ในสถานที่เหมาะสมแก่การบรรจงธรรม ย่อมจะสามารถบรรจงธรรมได้ในเวลาไม่นาน หรือหากได้รับการอบรมสั่งสอนจากพระองค์โดยตรงจะบรรจงธรรมได้รวดเร็วขึ้น ดังที่พระรับรองว่า "หากสนในรามในมายาเข้าก็จะเป็นพระธนในยามเย็น"
๒. คุณสมบัติของที่เหมาะแก่การบรรจงธรรม
เนื่องจากในช่วงเวลา ๒๕ ปี ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระจำพรรษาอยู่ในวัดพระเชตุวัดวันและดูปพุทธารามโดยตลอดนั้น วัดทั่วทั้งเมืองนี้ล้วนแฝงแน่ด้วยพระภิกษุดีเดินทางมาจากทุกทิศ เพื่อเข้าเฝารับทูลถามปัญหาต่าง ๆ จากพระพุทธองค์ ขณะเดียวกันทุก ๆ วันก็มีชาวเมืองเดินทางมาฟังธรรมเป็นจำนวนแสน ๆ ซึ่งในวันที่มีการแสดงธรรมในหัวข้อพิเศษ ก็จะมีชาวเมืองพากันมาฟังธรรมเป็นจำนวนล้าน ถึงมีผู้คนล้นออกมานอวัดดีเคยปรากฏมาแล้วส่งผลให้สถานที่ปฏิบัติธรรมไม่เพียงพอการฝึกอบรมพระภิกษุฯ บวชนใหม่
ดังนั้น พระพุทธองค์จึงทรงมุททานุญาตให้พระภิกษุไปหารเล็ดเหมาะ ๆ แก่การปฏิบัติธรรม หลังจากที่พระองค์แสดงธรรมจบแล้ว โดยทรงมีรับสั่งว่า
"กุฎิอันกุฏิหลาย นั้นโดนไม้ นั้นเรือนว่างเปล่า เธอทั้งหลายย่อมเพ่งมา อย่าประมาณ อย่าได้เป็นผู้มีความเดือดร้อนในภายหลัง นี้เป็นคริสของเราแก่เธอทั้งหลาย"
ในการเลือกสถานที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำว่าควรรู้จักเลือกสถานที่ที่เหมาะแก่การบรรจงธรรม เพื่อเมื่อเข้าไปอาศัยอยู่ ณ ที่นั่นแล้ว จะได้ฝึกอบรมตนได้อย่างเต็มที่ ไม่ต้องมีความหวังงงงวยอื่น ๆ ที่รบกวนภาแถม ภูมิสถานที่แห่งนั้นจะต้องมีคุณสมบัติของสถานที่เหมาะแก่การบรรจงธรรม ๕ ประการ ดังนี้
๑. เป็นสถานที่ร่ม เย็นสงบ ปลอดภัยจากแมลงมีพิษและสัตว์ร้ายรุนแรง
๒. การบินทบกเลี่ยงชีวิตด้วยปัจจัย ๕ ไม่มีไฟคง
๓. มีพระเถราจารย์ที่ทรงภูมิรู้ธรรมทั้งด้านปรัญญา ปฏิบัติ ปฏิเวธอยู่ประจำที่นั่น
๔. มีพระภิกษุที่ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนและมั่นใจเพรียวในความอยู่ที่นั่น
๕. มีการอบรมสั่งสอนในการเจริญภาวนาจากพระเถราจารย์อยู่เป็นกิจวัตรประจำวัน
๒ สัมมสนฺญาณ คือ ฌานกิจนะที่ใช้ในการพิจารณาเห็นการเกิดและการดับของขันธ์ ๕
1 โพธิญาณบารมีทสร. ม. ๒๒/๕/๒๕๓๓ (มมร.)
4 ปฐมวิมุติทางวิสาขะ, อง.ปลูก, ๗/๒/๒๕๒๑ (มมร.)
5 เสนาสนฺตคูฯ อง.ทลก. ๑๔/๑/๒๕๒ (มมร.)