การเปลี่ยนความโกรธให้เป็นความเข้าใจ Dhamma TIME เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 หน้า 26
หน้าที่ 26 / 42

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้มีการพูดถึงความสำคัญของการจัดการความโกรธเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจ การสำรวจความรู้สึกของเราและของอีกฝ่ายเป็นสิ่งสำคัญ เมื่อต้องการสื่อสารกัน เราต้องเปิดใจและเข้าใจถึงความต้องการโดยไม่ใช้ความโกหก รวมถึงการปรับเปลี่ยนความโกรธให้เป็นความเข้าใจ การอธิบายถึงโทษภัยของความโกรธในมุมมองของธรรมะว่าความโกรธนำมาซึ่งผลเสียในชีวิต เราต้องทำความเข้าใจกับตระกูลความโกรธ 3 ประเภทเพื่อให้การรักษาสภาพจิตใจเป็นไปอย่างที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การจัดการความโกรธ
-การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
-การฟังและการเปิดใจ
-ธรรมะและการเข้าใจความรู้สึก
-ผลกระทบของความโกรธต่อชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

Here is the extracted text from the image: อีกฝ่ายเค้าข้ามขั้นตอนไปสู่ขั้นตอนพูดเลยโดยไม่ได้ผ่านขั้นตอนกลั้ม กลอง เพราะฉะนั้นเราต้องทำอย่างไรดูไหมครับ (เราต้องไม่หยุดค่ะ) ไม่หยุดเราต้องนั่งนิ่ง ๆ วิเคราะห์เอาความรู้สึกออกมาเลย อ๋อ คุณรู้สึกกังวล คุณรู้สึกขอความเห็นใจ คุณรู้สึกอยากได้ความรัก คุณรู้สึกอยากได้ความจริงใจ เขียนเป็นความรู้สึกของอีกฝ่ายหนึ่งออกมาแล้วก็ฟัง พังเสด็จเปิดความต้องการของเราออกมาแล้วเราพยายามพูดในสิ่งที่เรารู้สึกเช่น ผมรู้นะครับคุณต้องการความรักความเอาใจใส่ ต้องการความเห็นใจ แค่นี้ก็เป็นการทำให้อีกฝ่ายเปิดรับความต้องการของเราเหมือนกันเราเห็นใจเค้า ทำให้เค้าพร้อมที่จะรับความรู้สึกของเราบ้าง ความต้องการของเราบ้าง มันก็จะไม่มีความโกหกเหลืออยู่ เพราะฉะนั้น พูดตั้งหลักอย่างชัดเจนเลยว่าการบอกจาไม่ใช่จะเอาชนะกันด้วยวิภาวะ แต่เป็นการที่จะสร้างสนธิวามกัน และอีกหน่อยอย่างที่เน้นย้ำ คือจะขออะไรมากกว่าความสามารถที่จะทำได้ด้วย และทั้งหมดนี้เป็นส่วนของท่านโลกในส่วนของธรรมพระอาจารย์ ดร.สมชาย ฐานุอุทโม ท่านจะมีรามฝากติดตามได้เลยค่ะ เจริญพร วันนี้เรามาคุยกันเรื่องว่าเปลี่ยนความโกธรให้เป็นความเข้าใจความโกธรมีโทษมาก ๆ เลยนะ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสว่า นุตติ โทษสม คลิ แปลว่าโทษใจสมด้วยความโกธ่ไม่มี ขาดนี้นะ ความโกธ่ามากที่สุดเลย ยื่นขนส่งดี เวลาเราพบโกรธเรามาเนี่ย มันไม่ได้หน้าคิดหลังกันเลยนะ โกรธจดๆ แล้วเราก็โทษหาในสิ่งที่เรายังคาดไม่ถึงเลย แล้วพอหลังจากความโกรธคลายไปแล้วเราก็จะมานั่งนึกเสียใจหลัง ถ้าจะปรับแก้ 3 ตระกูล คือ 1. ตระกูลครา เกิดง่ายหายช้า โทษน้อย แต่ฟังว่ารุนแรงก็ให้ระวัง 2. โมหะ หาายช้า โทษเรื้อรัง โมหะนี้ความหลง หายช้า แต่ว่าโทษเป็นโทษแบบเรื้อรัง คำว่โทษน้อยไม่ค่อยอยากใช้เท่าไหร่ เดี๋ยวจะเข้าใจผิดว่าไม่เท่าไหร่ จริง ๆ หายช้าแต่ว่าโทษแบบเรื้อรัง มันไม่ปุ๊บปั๊บมาเท่านั้น 3. โทสะ หายเร็ว มีโทษมาก โหมขึ้นมาทีโอหังอะไรได้สารพัด แต่สักพักเทียบแล้วจะหายเร็วกว่าโนะ ทะว่าแต่ละวาร่าที่เกิดพลัดไถ ใช้ปิป ต้องรับผลเกิดเลย จะเห็นตัวอย่างได้ไปหมด ยกตัวอย่างเช่น มีแม่บ้านสิงโปร ก็อยู่กับสามีมากกว่าอายุประมาณ 30 แล้วก็มีคนมามอบว่าตอนนี้สามีแอบไปมีภรรยา น้อยเจ้าตัวก็ผิดสังเกตแล้วว่า ทำไมพ่อบ้านเดี๋ยวนักผิดเวลา แล้วเปลี่ยนราย แต่งตัวดูดีเอ๋ย ดูผิดปกติพอสมมากเล่าให้ฟังบี้ใช่เลย ซัก เท่านั้นเองเกิดอะไรขึ้นรึไงนี้ไหมเอ่ย ไปหาค่อนปอนดามนะเสร็จเรียบร้อย สามีทำกิจวัตรอย่างมีสงบเนี่ย บุกไปถึงรสสามีไปถึงไม่พอ讓 พ่อรันปูนุกระกะซากหัวรบกระเป๋าไอ้นี่ลูบ 18 คันบวกคิดถึงอะไร จะต้องอย่างนี้ก่อนค่อยกัน ถ้าจะสามีปีกอจะเอาค้อนปอนทุบเลย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More