ข้อความต้นฉบับในหน้า
โดยเฉพาะในรัฐกาลที่ ๑ (พระบาทสมเด็จ- พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) นั้น ต้อง ถือว่าสงเคราะห์พระชนหลายใส่ในการนำบำร- รงพระศาสนาเป็นอันมาก โดยนับตั้งแต่ ที่ทรงครองราชสมบัติเป็นต้นมา พระองค์ทรงสร้าง พระบรมราชานุสรณ์ไว้หลายแห่ง จนถึงปัจจุบันนี้ทรงสร้างสร้างพระไตรปิฎก ฉบับหลวงขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งว่า "ฉบับ สังคายนา" หรือ "ฉบับดั้งเดิม" นับจากบ้านเมือง เข้าสู่ภาวะปกติ มีการรวบรวมพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ที่จารึกเป็นภาษาบาลีอักษรสลาว อักษรธรรมัญ, อักษรสิขหล ตลอดจนอักษรอื่นๆ หลายฉบับ โดยนำมาตรวจจ่ายเทียบเคียงกัน แล้วปริรสรแปลเป็นอักษรขอม แต่เมื่อสร้าง เสร็จแล้วพระองค์ได้ทรงนำพระสมบัติและพระต่างๆในพระราชบรรณานุสรณ์ต่างๆ มาไว้ในพระบรมราชานุสรณ์ ให้นักเรียนต้องสร้าง เรื่องสร้างพระไตรปิฎกในพระราชวังฆราวาส. ปัจจุบันเป็นที่ช่างกันตรวจทานเพื่อจะให้พระไตรปิฎกที่ชำระใหม่ั่น มีความสมบูรณ์ที่สุด พระบาทสมเด็จพระพุทธ- ยอดฟ้าจากโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า- ให้พระไตรปิฎกฉบับหลวงที่ทรงสร้าง ขึ้นมาให้ คณะสงฆ์ ๑๙๙ รูป และราชบัณฑิต ๑๒ คน มาร่วมกันตรวจจ่าย โดยใช้วัดพระศรีสุทธาวาส (เดิมชื่อวัดนินพนาราม ปัจจุบันคือ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชบรมราชวัง) เป็นสถานที่ช่วยกันตรวจทาน เพื่อจะแก้ไขคัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับนี้ โดยใช้ เวลาถึง ๕ เดือนไจ้เสร็จสมบูรณ์ ทั้งนี้ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๑ และสมเด็จพระอนุชาาธิราช กรมพระราชวังบวรฯทรงพระอนุโมทนา มีพระราช- ครัขรับเป็นองค์อุปถัมภ์ ซึ่งพระไตรปิฎก ชุดนี้ถูกจารลงบนใบลานรวมทั้งสิ้น ๔,๕๙๘ ผูก (๒๙๙ คัมภีร์) แบ่งเป็นพระนิรัน ๕๐ คัมภีร์ พระสูตร ๑๕ คัมภีร์ พระปรมิตต์ ๑๕ คัมภีร์ สัททวิสาส ๓๕ คัมภีร์ ทั่วไปมีลักษณะ