การฝึกสมาธิเบื้องต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนกันยายน พ.ศ.2559 หน้า 125
หน้าที่ 125 / 140

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอวิธีการฝึกสมาธิเพื่อเข้าสู่พระธรรมกาย โดยให้ความสำคัญกับการมีจิตใจที่สงบและไม่ต้องเร่งรัดในการเห็นนิมิต. มีข้อควรระวังในการใช้แรงและการควบคุมลมหายใจ. การฝึกนี้เหมาะสำหรับทุกคน โดยไม่จำกัดศาสนา เชื้อชาติ และเผ่าพันธุ์.

หัวข้อประเด็น

- การฝึกสมาธิเบื้องต้น
- การเข้าสู่พระธรรมกาย
- ความสำคัญของจิตใจสงบ
- ข้อควรระวังในการฝึก
- ผลกระทบต่อชีวิตและความสุข

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงเล็ก ๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อย ๆ ใจจะปรับจนไม่บังดับ ทำได้แต่ไหนให้หัวใจแค่นั้น สิ่งจะหยุดได้ถูกส่วน เกิดการเติบโตและเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงธรรม หรือ ดวงบูรพา คันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรค ผล นิพพาน การระลึกถึงนิมิตสามารทำได้ในทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือทำภารกิจใดๆ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้เสมอเป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่รังเกียจ ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง ที่ใช้ไม่ใช่กำลังใจ ทั้งสิ้น เช่น ไม่มีบังเนือตาเพื่อให้เห็นนิมิตเร็ว ๆ ไม่กรีงแขน หรือกล้ามเนื้หน้าอก ไม่รีงตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนไหวจากศูนย์กลางกายไปสูจุดนั้น ๒. อยากเห็น คือทำให้เป็นกลางประกอบสติมิให้ผลจากการกรรมภาวนาและกรรมมินิด ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลาแล้วอมเห็น การบ่งเกิดของดวงนิมิตนั้นอุปมาเหมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิ เพื่อให้เข้าสู่พระธรรมกายภายใน อาศัยมณีถึง "อโลกกสิณ" คือกลิ่นแสงส่งขึ้นเป็นเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิจนเข้าสู่อฐุมบรมแล้ว ผึดสมาธิต่อไปผ่านกายมนุษย์ละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนกระทั่งถึงพระธรรมกายแล้วจึงเจริญวิสัญญาในภายหลัง ดังนี้จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออกแต่ประการใด ๔. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่นิ่งอยู่อิริยาบถใด ตาม เช่น ยืนดีดี เดินดีดี นอนดีดี หรือยังก็ดี ย้ายฐานที่จัดไปไว้ที่เป็นอิ่นขาด ให้ตั้งใจบริการมวนนาา พร้อมกันถึงก็ส่งบรรจงมินิดเป็นดวงแก้วใสควบคู่ตลอดไป ๕. นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้ามิมเกิดขึ้นแล้ว หายไปไม่ต้องตามหา ให้วกานาประคองต่อไปตามปกติ ในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิยมย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก การฝึกสมาธิเบื้องต้นที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้ผลควบกัน เมื่อชักชอบปฏิบัติตนเสมอ ๆ ไม่ทอดทิ้งจนได้องค์ปฐมบรมแล้ว ก็ให้มันประคองดวงปฐมบรมกันไว้ตลอดชีวิต ดำรงอยู่ในศีลธรรมอย่างดี ย่อมเป็นหลักประกันไว้ได้พึ่งของชิวิตที่ถูกต้องดีงาม ที่จะส่งผลให้ผู้นั้นมีความสุขความเจริญ ทั้งในภาคชาตินี้และภพชาติหน้า หากสามารถแนะนําได้ก็ไป ยาไปยังเหล่ามนุษย์ชาติ อย่างไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ สันติสุขจีนไพบุลย์ที่ทุกคนใฝ่ฝันก็ย่อมบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน กันยายน ๒๕๕⁵ อยู่ในบุญ ๑๒๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More