ข้อคิดเกี่ยวกับพระสงฆ์และลามะ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนกันยายน พ.ศ.2559 หน้า 96
หน้าที่ 96 / 140

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจแนวคิดเกี่ยวกับลามะในพุทธศาสนาที่เน้นการเกิดใหม่ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Living Buddha เน้นการฝึกอบรมตั้งแต่อายุยังน้อย และมีการสอบถามเพื่อค้นหาคนที่เหมาะสมที่จะเป็นทะไลลามะ สิ่งเหล่านี้สะท้อนถึงความเชื่อที่มีรากฐานลึกซึ้งในวัฒนธรรมศาสนาเมื่อพูดถึงการกลับชาติมาเกิด ความสำคัญของลามะในมองโกเลียและทิเบต แสดงถึงบทบาทที่ซับซ้อนของศาสนาในภูมิภาคที่มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน.

หัวข้อประเด็น

-ความเชื่อเกี่ยวกับลามะ
-การเกิดใหม่ในพุทธศาสนา
-วัฒนธรรมมองโกเลีย
-ทะไลลามะและการศึกษา
-อิทธิพลของพุทธศาสนาในโลก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อคิดรอบตัว เรื่อง : พระครูปลัดสุวัฒน์โพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑฺฒโม) จากรายการข้อคิดรอบตัว ออกอากาศทางช่อง DMC สามัญ หรือ ต้นตระกาญน บางที เรียกว่า มนตระกาญน นิยมูรฺฏ์เรื่องที่เบด มองโกเลีย จุดเด่นของรตระกาญนั่นว่า ลามะองค์สำคัญ ๆ จะมีการกลมกลมมาเกิดใหม่ ภาษาอังกฤษใช้ว่่า Living Buddha คือ เป็นลามะองค์สำคัญที่บรรลุแล้วกลับชาติมาเกิด แต่ภาษาอังกฤษว่าเป็น Living Buddha ไปเลย แล้วเวลาที่จะลามะ มรณภาพ เขายังไม่ต้องอธิบาย แต่จะคอยยืมาว่าท่านกลับชาติมาเกิดที่ไหน และต้องมีการสุ่ม เช่น มีความคุ้นเคยกับข้าวของเครื่องใช้ของทะไลลามะไหม และมีการสอบถามหลาย ๆ เรื่อง พอได้ตัวบุคคลที่ใช่แล้ว ก็จะแต่งตั้งให้เป็นทะไลลามะตั้งแต่ ๓-๔ ขวบ แล้วให้การศึกษา ฝึกอบรม เพื่อให้เติบโตขึ้นมาเป็นทะไลลามะ แล้วก็เป็นตลอดชีวิต เป็นตำแหน่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนได้ เพราะถือเป็นองค์อวตารขององค์เดิม นี่เป็นความเชื่อของชาวพุทธแบบขาวจริต นิยามบังที่เรียก มนตระกาญน มีมนต์ที่สวดแล้วมีอานุภาพให้พระพุทธเจ้ามาช่วยได้เป็นต้น เป็นนิยามที่ค่อนข้างจะลึกลง คนจีนบางทีเรียกนิยาม ว่า จง"จง" คือ ศาสนา"มี" คือ ลึกซึ้ง นิยามวาชรญาณมีศาสนิกไม่ค่อยมาก ที่มองโกเลียกับทิเบตบอกแค่ ๑๐ กว่าล้านคน แต่มีอิทธิพลในโลกไม่น้อย เป็นเพราะหลังจากเกิดความฝันผวา ทางการเมืองในเบต ตอนนี้ก็จะเป็นพระสงฆ์ ซึ่งมีภูมิ-อากาศ ภูมิประเทศ และวัฒนธรรมแตกต่างกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More