การเผยแพร่พระพุทธศาสนาแบบทิเบตและความแตกต่าง วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนกันยายน พ.ศ.2559 หน้า 97
หน้าที่ 97 / 140

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแบบทิเบตที่เริ่มต้นจากการอพยพและการตั้งวัดในต่างแดน โดยไม่มีการสนับสนุนจากชาวทิเบตหรือติ่มอย่างเดียว ซึ่งต้องพึ่งการเผยแพร่ศาสนาอย่างกว้างขวางถึงจะสามารถอยู่รอดได้ พระพุทธศาสนาในทิเบตนั้นมีคำสอนที่คล้ายคลึงกันในหลายๆ นิกายและมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นศูนย์รวม แนวคิดที่สำคัญคือการป้องกันการเผยแพร่คำสอนด้วยความเกลียดชังและการทะเลาะกัน นอกจากนี้ยังมีการสำรวจถึงพระพุทธศาสนา 3 สายใหญ่ในปัจจุบันและหัวใจของศาสนาที่ทุกนิกายจะต้องให้ความสำคัญ

หัวข้อประเด็น

-การเผยแพร่พระพุทธศาสนา
-พระพุทธศาสนาแบบทิเบต
-การสร้างวัดในต่างแดน
-ความแตกต่างระหว่างพระไทยและชาวทิเบต
-คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไปอยู่ที่ธรรมศาสนาในอดีต ซึ่งเป็นศูนย์อพยพ ใหญ่ของชาวทิเบต แล้วพระลามก็กราวดไปทั่วโลก การกระจายไม่เหมือนพระไทยที่ไปสร้างวัดในต่างแดน เพราะว่าคนไทยไปสร้างวัดในต่างแดนส่วนใหญ่มักสร้างในชุมชนชาวไทย พระไทยไม่ต้องพูดภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น จีน ฯลฯ เพราะคนมวลส่วนใหญ่เป็นคนไทย พระไทยไปสร้างวัดเพื่อรองรับคนไทยในต่างประเทศ แต่ชาวทิเบตและมองโกเลียมู้ยืนดีเดียว ในแต่ละประเทศอาจจะมีแต่ 2 คน 5 คน วัดทิเบตไม่สามารถอยู่ได้ด้วยการสนับสนุนของชาวมองโกเลียหรือชาวทิเบต จำเป็นต้องเผยแพร่ศาสนาไปสู่อาณาเขต ถ้าเผยแพร่ไม่ได้ก็อยู่ไม่ได้ ช่วงแรกพระลามลำบากมาก ภาษาก็ไม่รู้เรื่อง เพราะออกมาแบบทันทีทันใด ถูกบีบอัดมาอย่างรวดเร็วภายในไม่กี่ปี แล้วก็เผยแพร่ผลปรากฏว่า เวลาผ่านมา ๕๓ ปี พระพุทธศาสนาแบบทิเบตกลายเป็นพระพุทธศาสนาที่ชาวโลกรู้จักมาก เรียกว่าในเสมอดี นี่คือภาพรวมของพระพุทธศาสนา ๓ สายใหญ่ในปัจจุบัน แต่ละครายมีคำสอนหรือเก่าของพระพุทธศาสนาเหมือนกันไหม ? หัวใจอย่างแรกคือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือทุกนิยานนี้คือพระพุทธเจ้าเหมือนกัน พระพุทธเจ้า คือศูนย์รวมชาวพุทธทุกนิกาย ชาวพุทธทั้งหมดยกเว้นแต่เป็นลูกพระพุทธเจ้าเหมือนกัน แล้วพระธรรมคำสอนของพระองค์ก็อยู่ใน หลักหิ้งศา คือไม่เมือยอีบกัน ไม่วาพระพุทธศาสนาก็ไม่สนับสนุนให้ เผยแพร่คำสอนด้วยการเมิดและด่าว่าขอีเดียวกันในอิทธิพลของพระธรรมในร่มเงา นี่ไม่เมือยอีบกัน ไม่ว่า พระพุทธศาสนาก็ไม่สนับสนุนให้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More