ศาสนากับความเชื่อในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนกันยายน พ.ศ.2559 หน้า 98
หน้าที่ 98 / 140

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สะท้อนความคิดเห็นของบุคคลสำคัญเช่น H.G. Wells, Max Muller และ Carl G. Jung ที่มีต่อพระพุทธศาสนา โดยเนื้อหาเน้นถึงความสำคัญของศาสนานี้ในฐานะที่เป็นที่พึ่งทางจิตใจให้กับผู้คน รวมถึงความน่าเชื่อถือทางวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อสังคมในระดับโลก โดยเฉพาะเมื่อผู้คนมีการศึกษาและความรู้มากขึ้น ซึ่งทำให้พบความเชื่อมโยงและคุณค่าของระบบคิดแบบพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-อิทธิพลของพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของการศึกษา
-ความคิดเห็นของนักคิด
-ความเชื่อในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คนไม่มีศาสนา เพราะศาสนาเก่าของตัวเองอจก ให้ชื่อ เขารับไม่ได้ ไม่มีเหตุไม่มีผล คนจำนวน มาเลยแววมาว่าศาสนาไหนจะเป็นที่พึ่ง ที่จะกล่อให้แก่พวกเขาได้ และพบคำตอบใน พระพุทธศาสนา ยิ่งคนมีความรู้มาก ฉลาดมาก เก่งมาก มีความคิดเป็นระบบ จะบังเกิดความ ศรัทธาในพระพุทธศาสนามาก ลงดูควมเห็นและความรู้สึกของบุคคล ชั้นนำของโลกที่มีต่อพระพุทธศาสนาบ้าง ๑. H.G. Wells นักเขียนนวนิยาย วิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ นักหนังสือพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ เขาเล่าว่า "พระพุทธศาสนา กระทำไมมากยิ่งกว่าศิลปินอื่ฯนใดที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติเพื่อความ ก้าวหน้าแห่งอารยธรรมของโลกและวัฒนธรรม ที่แท้จริง" พุงง่าย ๆ ว่า ผลกระทบจาก พระพุทธศาสนแรงกว่าอิทธิพลอื่นใดที่ปรากฎ ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ๒. Max Muller เป็นศาสตราจารย์ ทางด้านภาษาชาวเยอรมัน เขาทำงานบูรณะ ทำหนังสือ ตำราภาษาสันสกฤต ภาษโบราณ เยอะมาก เรียกว่าถ้าหากเอ่ยชื่อในเดวงาน นักวิชาการด้านภาษา ของโลกว่าทุกคน แล้ว ต้องอาศัยหนังสือที่เขาทำมาเป็นร้อย ๆ ปี ประกอบในการค้นคว้า เขาบอกว่า "ประมวล ศิลธรรมของพระพุทธเจ้า สามบูรณมากที่สุด ที่โลกเคยรู้จามา" นี่คือความเห็นของคนที่ เกิดในศาสนาอิ้น แล้วเป็นผู้ที่มีปัญญามากา ศึกษามาอย่างจบจบ ๓. ศาสตราจารย์ Carl G. Jung เป็น นักจิตวิทยาชาวสวิตซีที่มีชื่อเสียงดังโลก กล่าวว่าท่านเป็นนักศึกษาเรียนในเทียบตัวเองเกิดมาในศาสนาคริสต์ แต่พยายามศึกษาทุกศาสนาอย่างละเอียด ซึ่งอาจจะ คำถามพระพุทธเจ้าเป็นอย่างไร ก็สนใจ ก็สนใจ ก็สนใจ มาศึกษามาอย่างละเอียด เขาจึงมาเขียนว่า พุทธศาสนา เป็นศาสนาของความจริง ปฏิรูปที่เขาทำจริง และระหว่างศึกษาทุกอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่มีการบังคับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More