วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 หน้า 120
หน้าที่ 120 / 136

สรุปเนื้อหา

สมาธิคือความสงบและความรู้สึกเป็นสุขที่ทุกคนสามารถสร้างขึ้นได้ การฝึกสมาธิเบื้องต้นตามแนวทางพระมงคลเทพมุนีประกอบด้วยการเตรียมใจ การทำสมาธิในท่านั่งที่เหมาะสม และการนึกถึงดวงแก้วกลมใส เพื่อสร้างความสงบและความสุขให้กับชีวิต ทั้งนี้การปฏิบัติเพื่อความดีจะช่วยให้เกิดสติและปัญญาในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างความสุขที่ยั่งยืนและไม่ประมาทในทุกด้านของชีวิต โดยมีรายละเอียดการปฏิบัติทั้งสี่ขั้นตอนที่ชัดเจนจากหลวงปู่สดที่เป็นแนวทางสู่ความสงบ

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสมาธิ
-ขั้นตอนการฝึกสมาธิเบื้องต้น
-ประโยชน์ของการทำสมาธิ
-วิธีการนั่งสมาธิที่ถูกต้อง
-การสร้างอารมณ์สงบในจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกด้านอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลื่อวิสัช ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ วิถีปฏิบัติที่พระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดป่าน่าน ภาษีเจริญ เมดตงสร้างไว้ดังนี้ ๑. กรรณุขภาพพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้สมดุลใจเป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานคือ คิด เพื่อความมั่นคงในคุณธรรมนของตนเอง ๒. คูเขาร้อนก็บรรเทา สบาย ๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้ทำไว้แล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจว่าจะทำในอนาคต จนกว่าขวัญใจของทั้งหมดย่อประกอบด้วยความดีแห่งคุณงามความดีล้น ๆ ๓. นั่งขัดสมาธิ ขาวาวขาขวา ซ้าย มือขวาทับมือซ้ายไว้ช้อนมือขวาจดนิ้วหัวแม่มือขวา นั่งให้อยู่ในท่าที่พอดี ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่ย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอสมควรคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อติดต่อกันจนเกินไป แล้วตั้งใจนั่ง วางอารมณ์สงบ สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าสู่ความสงบสบายอย่างมีสมาธิอย่างง่าย ๆ ๔. นึกก็นิมิตเป็น "ดวงแก้วกลมสี" ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใบระจุทีที ปรากฏจากยอดตำหนิใด ๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดับประกายของดาว ดวงแก้วกลมใสนี้ยิ่ง ๆ บริภาริมนิยมลักษณะ ๆ นักเหมือนดวงแก้วนั้นบ่มานานแล้วอยู่ในศูนย์กลางฐานที่ 7 มีโอกาสไปอย่างนุ่มนวล เป็นพฤกษานคำว่า "สมมุตะระ" หรือ (เนื้อหาอาจจะถูกตัดบางส่วน เนื่องจากความยาวของข้อความ)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More