อิทธิพลของอักษรธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ.2560 หน้า 68
หน้าที่ 68 / 124

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเรื่องราวเกี่ยวกับอักษรธรรมอันมีอิทธิพลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ซึ่งถ่ายทอดความรู้และศาสนธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อักษรเหล่านี้มีต้นกำเนิดจากอักษรล้านช้างและถูกใช้ในการบันทึกพระธรรมคัมภีร์ อักขระต่างๆได้รับการส่งต่อผ่านรุ่นสู่รุ่นเพื่อการศึกษาของเยาวชนปัจจุบัน.

หัวข้อประเด็น

-อักษรธรรมในภาคอีสาน
-ประวัติความเป็นมาของอักษรธรรม
-อิทธิพลของอักษรล้านนา
-พระไตรปิฎกในบริบทของวัฒนธรรมไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในอดีตจะรับวัฒนธรรมหลายด้านโดยเฉพาะ ซึ่งอยู่ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้านตัวอักษรจากอาณาจักรขุญซึ่ง ส่วน สาเหตุที่เรียกว่าอักษรธรรมนี้ ก็เนื่องด้วยเป็นอักษรที่เขียนบันทึกพระธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นเอง อิทธิพลอักษรธรรมล้านนาสืบทอดต่อมาย่อมาจากอักษรล้านช้าง คัมภีร์พระไตรปิฎกที่น่าน สีลขันธรรมะ อักษรธรรมล้านนา คัมภีร์พระไตรปิฎกที่น่าน สีลขันธรรมะ อักษรธรรมอีสาน จากจุดเริ่มต้นแห่งดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของตนเอง แม้ถักวิธีและรูปแบบอักษร จะเปลี่ยนแปลงไปจนไม่เหลือเค้าโครงเดิม แต่ อักษรเหล่านั้นต่างก็มีเนิดจากที่เดียวกัน และ บูรพาชนชาวไทยก็ได้ใช้อักษรโบราณเหล่านี้ จารึกเรื่องราวคดีโลกและคดีธรรมผ่านรุ่นสู่รุ่น ไอ้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ อ้างอิง กรุนิการณ์ วิลาสเกษม ตำราเรียนอักษรไทยโบราณ อักษรของไทย อักษรธรรมล้านนา อักษรธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๔ บุญเตือน ศิริวัฒน์ ประสิทธิ์ แสงทับ สุมคอแนว. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของกรมศิลป์, ๒๕๕๒ ลำบัววัฒนา วีไกลสม กิฟท์ และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานาค พัฒนาการของอักษรไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระพุทธศาสนา, ๒๕๕๖ ๑๑ อยู่ในบุญ มิถุนายน ๒๕๖๐
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More