ข้อความต้นฉบับในหน้า
พุทธานุสรณ์โบราณสู่การเห็นพุทธะในตน" โดย พระเกียรติคิด กิตติปฺญโญ นักวิจัยของ สถาบันวิจัยนานาชาติจริยธรรมในฐานะนักศึกษาปริญญาโทของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้ยบยงจากส่วนหนึ่งของงานวิจัยที่ศึกษเรื่อง "คัมภีร์ตุนนง หหมายเลข S. 2585 : การศึกษาเนื้อหาและสัหวิทยาการเกี่ยวกับเทคนิคการทำสมาธิและประสบการณ์การเห็นในสมาธิช่วงยุคกลางตอนต้นของจีน" (Dunhuang Manuscript S. 2585: A Textual and Interdisciplinary Study on Early Medieval Chinese Buddhist Meditative Techniques and Visionary Experiences) ซึ่งเนื้อหาหลักของงานวิจัยนี้นั้นคือการกล่าวถึงการศึกษาวิธีการทำสมาธิของพระพุทธศาสนาของจีนเมื่อประมาณ ค.ศ. 220-485 ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ หลายวิธีการ และบางวิธีการอาจเชื่อมโยงต่อไปได้ถึงสมัยเขียนกลางและอินเดียโดยในการนี้ผู้วิจัยได้ทำการสำรวจและวิเคราะห์เทคนิคการทำสมาธิจากเอกสารปรมภูมิ คือ คัมภีร์ต่าง ๆ ของจีนเป็นจำนวนมาก ซึ่งหนึ่งในจำนวนนี้ได้แก่ คัมภีร์โว่วชั่วกวนจิง (Foshuo guan jing 佛說觀經; T.2914) โดยจากการศึกษาคัมภีร์ดังกล่าวนี้เองที่ทำให้ผู้วิจัยได้ข้อมูลที่มีความสดใสคล้องคล้ายคลึงกับแนวคิดหลักในวิชาธรรมภายอย่างมีนัยสำคัญ ในการจัดงานเสวนา ครั้งนี้ มีหัวข้อการเสวนา ที่น่าสนใจหลายเรื่องเช่น "คัมภีร์ในกลุ่มคัมภีร์อัษษรามาย กับความสำคัญประวัติศาสตร์ : พิธีกรรมและสมาธิ" โดยคุณรวเมธ มาลาศาสตร์นักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติจริยธรรม (DIRI) (มหาบัณฑิตจาก Religious Studies with Distinction, University of Otago) ที่จะชี้ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับคัมภีร์ (Manuscripts) เก่าแก่ทางพระพุทธศาสนาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เราได้เห็นว่า บรรดาคัมภีร์ต่าง ๆ ที่มีจำนวน
44
วันรายวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 13.00 น ณ อาคาร 100 ปี คุณายอาจารย์มหาตุน-อุบลกัลจันทร์ ขนุนทอง
วันรายวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เวลา 13.00 น ณ อาคาร 100 ปี คุณยายอาจารย์มหาตุน-อุบลกัลจันทร์ ขนุนทอง
อุณในบูญ มีนาคม 2563