ข้อความต้นฉบับในหน้า
ถึง “ที่มาของคาถาธรรมกาย” ว่ามีความเป็นมาอย่างไร สำคัญอย่างไร เกี่ยวกับวิธีชีวิตของชาวพุทธไทยม อย่างไร ซึ่งการอธิบายความเกี่ยวข้องกับคาถาธรรมกาย ดีที่กล่าวมานี้ จะมีส่วนช่วยเพิ่มความรู้ความเข้าใจของ เราอย่างยิ่ง และเพิ่มความมั่นใจของเราอย่างยิ่งในเวลา ที่ถูกถามคำถามเกี่ยวกับธรรมกาย หรือถูกขอให้บรรยาย ถึงประวัติศาสตร์ที่มาของธรรมกาย เพราะส่วนหนึ่ง ต้องยอมรับว่าที่ผ่านมา มาภาวะนี้เป็นเรื่องราวของ ธรรมกายในสังคมไทยนั้น ยังอยู่ในความสนใจ ของผู้คนอยู่ตลอดเวลา ในขณะที่ความรู้ความเข้าใจ ที่สมบูรณ์เกี่ยวกับเรื่องธรรมกาย ความชำนิชั้นและ ตระหนักรู้ว่าแท้จริงแล้ว “ธรรมกาย” นั้นเป็นสิ่งที่จรรโลงสังคมและพระพุทธศาสนาตลอดมา ยังมีอยู่มาก สมควรที่ลูกศิษย์หลานศิษย์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ ทุกคนจะได้ ช่วยกันทำหน้าที่เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจถูกต้องให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางต่อไปได้ โดยไม่ท้อถอย ซึ่งการที่จะทำดังนั้นได้อย่างเต็มที่อาจต้องอาศัยการเติมเต็มความรู้ความเข้าใจที่สำคัญ หล่านี้อย่างม่ำเสมอ เช่นเดียวกัน หากทุกท่านได้มาร่วมการสอนา ในหัวข้อ “การศึกษาหลักฐานธรรมกายในคติธรรม” ของ ดร.ชินิดา จันทราศรีโสก (บศ.๙) (Doctor of Philosophy at the University of Sydney) 4 แล้ว ผู้เรียนก็ยังมีความเชื่อมั่นว่าทุก ๆ ท่านก็ยังมี ความมั่นใจมากขึ้นกว่เดิมอีกมากเช่นกัน ดจะเห็น ได้ว่างานศึกษาวิจัยของทั้ง ดร.กิญชัย เอื้อเกษม และ งานศึกษาวิจัยของ ดร.ชินิดา จันทราศรีโสก นั้นมี ลักษณะที่ช่วยเติมความสมบูรณ์ซึ่งกันและกัน ในขณะ ที่งานของ ดร.กิญชัยนั้นเป็นงานที่มุ่งสร้างความเข้าใจในเรื่องเนื้อหาของคาถาธรรมกาย งาน ของท่าน ดร.ชินิดา ก็เป็นงานซึ่งมุ่งจัดข้อสังเกตในภาพกว้างทั้งหมด รวมต่อไปถึง การช่วยคลี่คลายปมเงื่อนไขและอธิบายถึงต้นรากของวาระธรรมกายว่าเป็นอย่างไร ซึ่งมี ความสำคัญไม่น้อยไปกว่านั่น ถือว่าเหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ต้องการข้อมูลไปใช้ในการทำหน้าที่ 4 บรรยายวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ อาคาร ๑๐๐ ปีคุณอาจารย์มหารัตนอุปถัมภ์-จันทร์ ขนบงู