ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุปนิสัย
อ่านอัตติ ข้อนาขคต
เรื่อง: พระมหาบพงค์ คีตยะโน, ดร.
ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๒๗ สังเวชนียธรรม...ความแตกต่างบนความเหมือน
(นี้ชื่อว่า มนุษย์ ทุกผู้ทุกนามย่อมไม่อาจกล่าวล่วง ความตาย ไปได้ แม้ผู้ทรงพระคุณ อันประเสริฐยิ่งเช่นพระผู้มีพระภาคอรหันต์สมบูรณ์มาสัมพุทธเจ้า ก็ยังมีอาจกล่าวล่วงไปได้ ณ ปวาวเจดี๋ย กรรมเวสสาลี ภายหลังจากพระพุทธองค์ปลอดอายุข้างวชรา พระผู้พระภาคเจ้ ได้ตรัสเรียกพระวิภุทธิหลาย ตรัสบอกถึงความที่พระองค์จะเสด็จดับดับในอี
๓ เดือน และตรัสพูดทายิสดเป็นคำดังนี้
"มนุษย์ทุกคนไม่ว่เด็ก ผู้ใหญ่ โง ฉลาด มังมี และยากจน ล้วนต้องตาย ชีวิตของสัตว์เปรียบเหมือนภาชนะดินที่วางหม้อบั้นแล้ว เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง สุขบ้าง ดิบบ้าง สังล้วนมีความแตกต่างเป็นที่สุด วัยของเรากำลังน่อง ชีวิตของเราเหลือน้อย เราจะจากพวกเธอไป เราทำพี่พ้องแก่ตนแล้ว พวกเธอจงอย่าประมาท มีสิติ มีสติ มีสัมมะ วิธี
มีความดำมินคงดี รักษาดิฐของตนไว้ ผู้ที่ไม่ประมาณอยู่ในธรรมวินัยนี้ ละการเวียนว่ายตายเกิดแล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกโรคได้"
(ที่.มูท. ๑๐/๑๘๕/๑๓๓-๑๓๒ ไทย.มจร)
พุทธาธิษฐานนี้ตั้งถึงกฎธรรมาติที่ยังไม่มีใครสามารถกล่าวล่วงได้ เป็นสิ่งที่ทุกผู้ทุกนาม ต้องมีเสมอเหมือนกัน นั่นคือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ เสื่อมสลายไป แต่ในเขตเดียวกัน ก็อีกสิ่งหนึ่งที่ไม่เหมือนกัน ต่างกันด้วยข้อวิตรปฏิบัติ ต่างกันด้วยติใน นั่นคือ ใครท่าพึงให้แก่ตนเองได้ และ ใครท่าพึงให้แก่ตนเองไม่ได้ นั่นคือความแตกต่างบนความเหมือน สำหรับ วิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งทิ้งนั้น พระพุทธองค์ท่านก็ตรัสไว้แล้วในพุทธวจนนี้ คือ ฉะ. ไมประมาท ๒. มีสติ ๓. มีศีล ๔. มีดำริมั่น (ในหนทางพระนิพาน) ๕. รักษาจิตของตน (ให้ตั้งมั่นและ ผ่องใส) เมื่อเป็นเช่นนี้ ย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกได้
สังเวชนียสถาน เป็นสถานที่ประกอบด้วยความสดใส สงบ ควบคู่ไปกับการเก็บกำลังใจ ในการส่งมคุณงามความดีนี้ไม่มีประมาณในเวลาเดียวกัน ฉันใด สังเวชนียธรรม ย่อมเป็นธรรมที่แสดงให้เห็นถึงอารมณ์ชาติอันน่าจะสดชื่นในเรื่องการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ เสื่อมสลาย ไปของตนเอง ควบคู่ไปกับการเกิดกำลังใจในการกระทำที่สุดแห่งทุกได้ในเวลาเดียวกัน ฉันนั้น