ความสำคัญของการประชุมวันพระในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2563 หน้า 56
หน้าที่ 56 / 63

สรุปเนื้อหา

การประชุมในวันพระมีความหมายสำคัญในการรักษาคำสอนของพระพุทธศาสนา เช่น การจัดการประชุมทุก ๆ ๑๕ วัน และเหตุผลเบื้องหลังการเลือกวันเดือนหงายและวันเดือนมืดเพื่อให้สภาพแวดล้อมเหมาะแก่การฟังธรรม นอกจากนี้ การประชุมยังช่วยรักษาคำสอนสำคัญในศาสนาให้คงอยู่ตลอดมา แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงของนิกายต่าง ๆ เมื่อ ๒,๖๐๐ ปีที่ผ่านมา โดยเอกสารนี้จะชี้ให้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของบรรพชนที่รู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนศาสนา

หัวข้อประเด็น

- ความสำคัญของการประชุมในวันพระ
- เหตุผลในการเลือกวันเดือนหงายและวันเดือนมืด
- การรักษาคำสอนในพระพุทธศาสนา
- นักปราชญ์และการปฏิบัติสืบทอด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เท่านั้น ลีมสินิกเลย เพราะฉะนั้นทุก ๆ ๑๕ วัน ก็จะต้องมีการทานกันสักครั้งเป็นอย่างน้อย สำหรับในเมืองไทยเรา เมื่อพระพุทธศาสนาเข้ามาแล้ว บรรพบุรุษของไทยท่านพิสูจน์ว่า การทิ้งห่างในระยะเวลา ๑๕ วัน แล้วมาทวนรวดเดียวกันนี้ ยาวไป การทิ้งห่าง ๑๕ วันสำหรับนักบวช ก็จักจะ ๆ ต้องมาทวนกันสักครั้ง แต่สำหรับชาวบ้านนั้น ถ้าห่าง ๗-๘ วัน ความเพียรก็ลำลำ ล่ำลำแล้ว คำสอนคำเตือนต่าง ๆ ก็ลิ่มหมดแล้ว ปู่ย่าตายวดของไทยจึงนำมาชอยจาก ๑๕ วัน ให้กลายเป็นทุก ๆ ๗ วัน โดยกำหนดวัน ๘ ค่ำ เข้าไปใส่ตรงกลาง เพราะฉะนั้นจึงเกิดวันพระเล็กขึ้นมาในบ้านเมืองไทยของเรา ๓) ทำไมต้องประชุมในวันเดือนหงายกับวันเดือนมืด คำถามต่อมา ทำไมต้องเลือกเอาวันเดือนหงาย (คำเรียกคืนที่มดงจันทร์ส่องแสงสว่างมาก โดยปกติหมายถึงวันที่มีพระจันทร์เต็มดวง) เดือนไมัดด้วย (หมายถึงคืนที่มองไม่เห็นดวงจันทร์) ความมุ่งหมายจริง ๆ นั้น มุ่งเอาที่คืนเดือนหงาย เพราะบรรยากาศของคืนเดือนหงายเหมาะต่อการฟังเทศน์ เหมาะต่อการอบรมจิตใจ แต่ช่วงระยะเวลาระหว่างเดือนหงาย ๓๐ วันนั้นนานไป จึงแบ่งช่วงเวลาจากเป็นวันที่เต็มดวง กับวันที่เดือนดับเต็มที่ คืนนั้นมีบรรยากาศที่เหมาะแก่การฟังธรรมดีเหลือเกิน เพราะเห็นหน้าเห็นตากันขัด ท้องฟ้าแจ่มใส ให้โอวาทกันท่ามกลางแสงจันทร์ คืนเดือนมีดวงหน้ากันไม่บ่กัน ก็ยังหลับตาว่า รำกันไปเป็นอย่างกันไป เป็นการเทศน์เหมือนกัน แต่ว่าเป็นเทศน์ในลำภี ผู้เทศน์ก็ลับตาแต่คนฟังทำษามรไปด้วย เกิดเป็นธรรมเนียนปฏิบัติอีติหนึ่ง ธรรมเนียนนี้เป็นธรรมเนียมของนักปราชญ์บัณฑิตตั้งแต่ก่อนพุทธกาลมาแล้ว สิ่งเหล่านี้เป็นความฉลาดของคนยุคโบราณ ซึ่งรู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ทำให้เขาประคับประคองหมู่คณะมาได้ เพิ่มความเข้มแข็งให้หมู่คณะได้ นักปราชญ์บัณฑิตตั้งแต่ดึกเขาทำกันอย่างนี้มากมายทุกยุคทุกสมัย หลวงพ่อเคยไปเยือนอินเดียหลายครั้ง ก็พบว่าธรรมเนียมนักบวชอีกนกเขายังทำกันอยู่ ๔) การประชุมทุกวันพระทำให้แต่ละนิกายยังเก็บรักษาคำสอนหลักในพระพุทธศาสนาได้ครบ ในพระพุทธศาสนาเอง แม้ผ่านมา ๒,๖๐๐ ปีแล้ว และมีกำเริบเป็นนิกายโน้นนิกนี้บ้าง แต่ว่าศีล ๕ ข้อยงี้อยู่ อริยมรรคมีองค์ ๘ ยังอยู่ อริสัจ ๔ ยังอยู่ แม้เรื่องอื่นแผ่วไป แต่เรื่องสำคัญเหล่านี้อยู่ในพระพุทธศาสนา นิกายต่าง ๆ ยังเก็บรักษาไว้ได้ดีเกือบทั่วโลก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More