การประชุมสงฆ์ในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2563 หน้า 55
หน้าที่ 55 / 63

สรุปเนื้อหา

การประชุมสงฆ์ที่เกิดขึ้นในพระพุทธศาสนามีความสำคัญในการสร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันและช่วยให้สมาชิกมีความเข้มแข็งและเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมอย่างเข้มงวด โดยจะมีการประชุมทุก 15 วัน ซึ่งเกิดจากการส่งเสริมของพระเจ้าพิมพิสาร ทั้งนี้จะช่วยสร้างความเข้าใจและกระชับสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเพื่อให้สามารถปฏิบัติธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีการอบรมและให้โอวาทจากครูบาอาจารย์ที่เป็นปัจจัยหนึ่งในการเผยแผ่และขยายงานไปยังสมาชิกใหม่ ๆ ในหมู่คณะ และลดความเสี่ยงของการประพฤติที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ.

หัวข้อประเด็น

-การประชุมสงฆ์
-ความสำคัญของการประชุม
-การพัฒนาหมู่คณะ
-การอบรมและเผยแผ่
-การปฏิบัติธรรมอย่างเข้มงวด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แต่เดิมโดยเฉพาะในช่วงต้นของพุทธกาล ไม่มีการลงปฏิบัติในพระพุทธศาสนา เพราะผู้ที่เข้ามาบวชนั้น บางมีแก้ลัญฉันเป็นส่วนมาก ท่านจึงสามารถเตือนตัวเองได้ ยิ่งในดูเรีมพุทธกาลใหม่ ๆ ก็ไม่มีพระวีนแม้แต่เดียว อยู่กันโดยขนบธรรมเนียมของนักบวช ต่อมาเมื่อมีกลุ่มผู้มีศรัทธาเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนานั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงเริ่มมีพระอรหันต์แล้ว ก็ถือว่าเป็นกิจของมุ่งส่งที่ต้องลงปฏิบัติธรรมเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่พระรุ่นหลัง ๆ ให้เข้มงวดกวดขันตนเอง เหตุเริ่มต้นนี้มีการลงปฏิบัติในพระพุทธศาสนานั้น เกิดจากพระเจ้าพิมพิสาร (กนิษฐ์) ผู้ครองแคว้นมัคคุเทศ ผู้บรรจงธรรมเป็นพระโลภปันบุคคล ทรงปรารถนาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าน นักบวชประเภทบริขารบ้าง และนักบวชประเภทต่าง ๆ อีกหลายประเภทในอินเดีย มีธรรมเนียมว่า ในวัน ๑๕ คำ ข้างขึ้นข้างแรม เขาจะประชุมกัน แล้วก็ให้โอวาทแก่นักบวชสมาชิกของเขาด้วย ทำให้บวชของเขามีความเข้มครัด มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีความไม่ระแวงซึ่งกันและกัน ว่าใครจะประพฤติว่าย่ำหย่อนกว่ากันอย่างไร เพราะได้เห็น หน้ากันอยู่ทุก ๆ ๑๕ วัน สิงเหล่านี้ก็ให้เกิดความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของนักบวชหมู่มั่น ๆ คณะนั้น ๆ แต่วันประชุมเช่นนี้ของพุทธศาสนายังไม่มี พระพุทธองค์จึงทรงอนุญาตให้มีการประชุมพระสงฆ์ขึ้น ๑) ความสำคัญของการประชุมรวม ถ้าพิจารณาโดยหลักธรรม ก็จะพบความจำเป็นในการประชุมทุก ๑๕ วันว่า ประกาศที่ ๑ ทำให้ “ทิฐิสัญญา” และ “สีลสัญญา” เกิดขึ้นในหมู่คณะ คือ มีวิริยะ (ความคิดเห็น) เสมกัน และมีสติ (ความบริสุทธิ์) เสมอกัน ทำให้หมดความกิเลส แคล้วคลาดใจ แล้วก็ช่วยกันประคับประคองหมู่คณะให้สมกับที่จะเสาะชีวิตมาวกัน แม้หลักธรรมที่นักบวชเหล่านั้นใช้ในปฏิบัติอาจไม่ค่อยมีความลึกซึ้งนัก แต่เพราะอาศัยการประชุมพร้อมเพรียงกันทุก ๑๕ วัน ทำให้หมู่คณะของเขามั่นคงเป็นหนึ่งเดียว ประกาศที่ ๒ สมาชิกของเขายังครองเรือน ก็ยังใจมาฟังครูบาอาจารย์ของเขา มาฟังนักบวชที่เขาเคารพบ็นชื่อ ให้โอวาท ให้การอบรม สมาชิกก็เพิ่มขึ้นตามลำดับ ๆ นับเป็นการเผยแผ่ เป็นการขยายงานไปสู่สมาชิกใหม่ ๆ ไปโดยปริยาย 2) ทำไมต้องประชุมทุก ๑๕ วัน มีคำถามเกิดขึ้นว่า ทำไมจึงต้องประชุมในวัน ๑๕ ค่ำด้วย เหตุผลนี้เป็นเหตุผลตามธรรมชาติ นั่นคือ ใครก็ตามถึงแม้จะมีปัญญามากมาย เพียงใด เมื่อได้ฟังคำเทคนิคคำสอนของครูบาอาจารย์แล้ว ไม่ว่าเขาจะรักครูบาอาจารย์ ของเขามากเพียงใด มีความชื่นชื่นในหลักธรรมมากน้อยแค่ไหน แต่เป็นธรรมชาติของมนุษย์ว่า หลังจากได้รับการอบรม การชีแนะไปแล้ว พอผ่านไป ๑๕ วัน ความสามารถในการจำของเขา ความขวนขวายที่จะประกอบความเพียรค่อย ๆ หายลงไปเรื่อย ๆ พอครบ ๑๕ วัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More