บทความเกี่ยวกับปีพุทธปรินิพพาน ปีพุทธปรินิพพาน (1) หน้า 6
หน้าที่ 6 / 41

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความสำคัญของปีพุทธปรินิพพาน ที่ไม่เพียงแค่เป็นจุดอ้างอิงในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา แต่ยังคล้ายคลึงกับการศึกษาประวัติศาสตร์ของอินเดียโบราณอีกด้วย โดยพูดถึงการศึกษาต่างๆ เช่น การพัฒนาภาษาอินโด-อารยัน และผลกระทบต่อการวิจัยในวงวิชาการทั่วโลก พร้อมกับสรุปความเป็นมาของการสัมมนาวิชาการนานาชาติที่จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัย Göttingen เพื่อหารือเกี่ยวกับวันและความสำคัญของจุดนี้ในประวัติศาสตร์.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของปีพุทธปรินิพพาน
-การศึกษาประวัติศาสตร์อินเดีย
-การพัฒนาภาษาอินโด-อารยัน
-การวิจัยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-สัมมนานานาชาติที่มหาวิทยาลัย Göttingen

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมมารา วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 5 ปี 2560 1. บทนำ ปีพุทธปรินิพพานเป็นหลักไม่สําคัญยิ่ง ไม่เฉพาะต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีความสําคัญ ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์รินเดียยุคโบราณทั้งหมดด้วย เพราะการศึกษาประวัติศาสตร์รินเดียในยุคที่กว่าสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชู่อินเดีย (327 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้จ้องถึงปีพุทธปรินิพพานซึ่งเป็นหลักไม่สําคัญยิ่ง อาทิ การศึกษายุคสมัยต่าง ๆ ของพระทา การศึกษาพัฒนาการของภาษาอินโด-อารยันยุคโบราณ ลำดับคตะแนดโดยอาศัยปีพุทธปรินิพพานนี้เป็นหลักอ้างอิงทั้งสิ้น นอกจากนี้ การสรุปว่าปีพุทธปรินิพพานอยู่ในระยะเวลาใดในประวัติศาสตร์ ยังส่งอิทธิพลต่อการศึกษาวิจัยด้านประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนายคณ โดยภาพรวม อาทิ กำเนิดคัมภีร์พระไตรปิฎก การสังด่ายนาการ แบ่งนิกร เป็นต้น ดังนั้น การศึกษาวิจัยเรื่องปีพุทธปรินิพพานจึงได้ดำเนินไปอย่างกว้างขวางในวงวิชาการทั้งตะวันตกและตะวันออก ตลอดกว่า 100 ปีผ่านมา เพื่อหาข้อสรุปในปัญหาเรื่องปีพุทธปรินิพพานนี้ มหาวิทยาลัย Göttingen (Georg-August-Universität Göttingen) ประเทศเยอรมนี จึงได้เป็นเจ้าภาพจัดการสัมมนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง “Symposium on the Date of the Historical Buddha and the Importance of its Determination for Historiography and
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More