ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมมารา
วาระวิชาวรรณาภาพพระครูศาสนา ฉบับที่ 5 ปี 2560
ที่เป็น เอกภาพหนึ่งเดียวกันเลย และถ้าพระเจ้าฉันท์ครูบ็ดบุกเข้าใจดี กองทัพก็อันแข็งแกร่ง ก่อนที่ฉันจะสามารถยึดอำนาจการปกครอง แค่วันมครได้ ก็เท่ากับต้องรับศึก 2 ด้าน คือ ถูกกระหนาบด้วยกองทัพก็ร้างด้านหน้าและกองทัพมครด้านหลัง และด้วยข้อมูลจากบันทึก Plutarch ก็ชัดเจนว่า พระเจ้าฉันท์ครูบอมีความรู้สึกที่ดีต่อกองทัพก็ร้าง และคาดหวังที่จะได้รับความสนับสนุนจากพระเจ้าเล็กชานเดอร์มาหาชในกษัตริย์นคณ์แห่งแคว้นมครเป้าหมายที่แน่แน่นั่นมั่นคงของพระเจ้าฉันท์ครูบดีนึกไปประวัติศาสตร์ ทุกบรรทัดว่าภพนกตรงกัน คือ การล่มวชองด์นคแล้วขึ้นครองบัลลังก์เป็น กษัตริย์แคว้นมครแทน นอกจากนี้ก็อาจเข้าครองนครของพระเจ้าจันทรครูบดีไม่ได้เริ่มจากดินแดนตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียซึ่งเป็นศูนย์กลางการทหารที่แข็งแกร่ง แต่บันทึกกก็กล่าวไว้ว่าเริ่มจากดินแดนแถบเทือกเขามาลัยทางตอนเหนือของอินเดีย13
13 คัมภีร์ Sthavirāvalicarittra (Parīsśtaparvan) ของ Hemacandra บันทึกไว้ว่าผู้ช่วยของจันทรครูบดีคือพราหมณ์จาณกะ (บาลี: จาณกะ) ได้รับคำแนะนำจากคุณนายท่านหนึ่งว่า การก่อการให้เริ่มจากแถบชายแดนจึงได้เดินทางไปเที่ยวซอดเขามาลัย (Himavatkuta) ผูกเป็นพันธมิตรกับParvataka ผู้เป็นขะตรึในดินแดนแถบนี้และค่อย ๆ รุกคืบเข้ายึดครองดินแดนแถบแคว้นต่าง ๆ จนต่อครองอินเดียได้ทั้งหมด (Bhattasali 1932, เชิงอรรถที่ 11) ข้อมูลจากคัมภีร์อื่นของศาสนาเชนกล่าวว่าจันทรครูบได้ผูกเป็นพันธมิตร (mettикия) กับขัชัรย์ Pavvao ทำสัญญาว่าจะแบ่งดินแดนของขัชัรย์นั้นนะ (กษัตริย์แคว้นมคร) กันอย่างเสมอภาค
(อ่านเชิงอรรถในหน้าต่อไป)