การบุกจ้าวใจมของพระเจ้าเลิศซานเดอร์ ปีพุทธปรินิพพาน (1) หน้า 23
หน้าที่ 23 / 41

สรุปเนื้อหา

การบุกรุกของพระเจ้าเลิศซานเดอร์เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงต่อชาวอินเดีย สังคมประสบความตื่นตระหนก ทำให้ชนชั้นปกครองสูญเสียอำนาจและความมั่นใจในการปกครอง การพรรณนาใน Mahāvamsa-tika ยังสะท้อนถึงแนวคิดที่ว่า Candragupta ได้ทำการโจมตีโดยไม่เริ่มจากชายแดน ทำให้ราชอาณาจักรตกอยู่ในภาวะลำบากและถูกทำลาย

หัวข้อประเด็น

-การบุกรุกของพระเจ้าเลิศซานเดอร์
-ผลกระทบต่อชนชั้นปกครอง
-ความรู้สึกไม่มั่นคงในสังคม
-บทเรียนจากการโจมตีของ Candragupta

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เราสามารถถวิลภาพได้มากกว่าการบุกจ้าวใจมเข้าไปของกองทัพกร โดยการนำของพระเจ้าเลิศซานเดอร์ เป็นภัยคุกคามร้ายแรงอย่างที่ ชาวอินเดียโดยเฉพาะชนชั้นปกครองไม่เคยประสบมาก่อน ความตื่นตระหนกได้แพร่กองไปทั่วสังคมอินเดีย ทำให้พระเดชานุภาพ ของชนชั้นนวดยิ่ง ๆ ของอินเดียตกต่ำลง สังคมโดยรวมถูก ปกคลุมด้วยความรู้สึกไม่มั่นคง (เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว) (Namdarajam samam samenam vibhamjayāmo) และภูมิน ดินแดนของกษัตริย์นั่นหงจากชายแดนเข้าไป(Nakamura 1997: 598). ส่วนในคำศัพท์ Mahāvamsa-tika(1895: 123, Calombo edition) ได้กล่าวไว้ดังนี้ In one of these villages a woman [by whose hearth Candragupta had taken refuge] baked a chaputty (a frying-pan-cake : kapalla pūva) and gave it to her child. He, leaving the edges, ate only the centre, and, throwing the edges away, asked for another cake. Then she said, ‘This boy’s conduct is like Candragupta’s attack on the kingdom.’ The boy said, ’Why, Mother, what am I doing, and what has Candragupta done?’ ‘Thou, my dear,’ said she, ‘throwing away the outside of the cake, eatest the middle only. So Candragupta, in his ambition to be a monarch, without beginning from the frontiers, and taking the towns in order as he passed, has invaded the heart of the country ... and his army is surrounded and destroyed. That was his folly (Rhys Davids 1993: 269).
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More