ถิ่นกำเนิดบั้งไฟพญานาค ตำนานพญานาค สองฝั่งโขง หน้า 37
หน้าที่ 37 / 58

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเรื่องราวของบั้งไฟพญานาค และความเชื่อในการเคารพบูชาจากผู้คนต่างๆ รวมทั้งการอธิบายถึงภุมเทวาและความเชื่อเดิมของมนุษย์ที่ถ่ายทอดไปถึงเทวดาที่เกิดใหม่ โดยมีการเชื่อมโยงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองและศรัทธาธิปไตย ซึ่งเทวดาที่เป็นอดีตมนุษย์ยังคงเชื่อและสร้างอิทธิพลต่อสังคมด้วยความศรัทธาที่ตนเองมีในช่วงชีวิตก่อนตาย ทุกสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของความเชื่อในวัฒนธรรมไทยในแง่มุมต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลต่อวิธีการปกครองและความเชื่อในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-บั้งไฟพญานาค
-ความเชื่อ
-เทวดา
-ภุมเทวา
-ศรัทธาธิปไตย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๖ (4) ถิ่นกำเนิดบั้งไฟพญานาค สักการะบูชามากมายเพียงใด เขาเหล่านั้น อื่น ๆ เชื่อตามตน บางพวกก็ตั้งป้อมเป็นศัตรู ก็ได้ความปีติเพียงเล็กน้อย บุญก็เกิดน้อย กับเทวดาที่ไม่ได้นับถือเช่นเดียวกับความเชื่อ เมื่อมนุษย์เหล่านั้นละโลกแล้วจึงได้เกิดเป็น ของตนอีกด้วย แค่ภุมเทวาในสายต่างๆ ซึ่งเป็นเทวดาชั้นต่ำ ระดับล่างประเภทเดียวกับพระภูมิเจ้าที่ และ อาศัยอยู่ในแถบนั้น เมื่อเกิดเป็นภุมเทวาก็ยัง ติดนิสัยมิจฉาทิฏฐิ และความเชื่อแบบเดียว กับเมื่อครั้งที่ตนยังเป็นมนุษย์ ดังนั้นความเป็นอยู่และการปกครองจึง เปลี่ยนแปลงไปตามความเชื่อของตน กลาย เป็นการปกครองประเภทศรัทธาธิปไตย คือ ถือเอาความเชื่อเป็นใหญ่ พวกเทวดาศรัทธา ธิปไตยเหล่านี้ก็พยายามบังคับให้เทวดาตน เทวดา คืออดีตมนุษย์ ตอนเป็นมนุษย์ หากมีความเชื่ออย่างไร เมื่อตายไปได้เป็น เทวดาก็ยังมีความเชื่อเช่นนั้นอยู่อีก เทวดาที่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More